ข้อความต้นฉบับในหน้า
เบ็ดเตล็ด ๓๔๓
ยทท ใช้แสดงส่วนย่อย ที่มีอย่างเดียวคล้ายเป็นคำไข
หรือคำอธิบาย
เช่น
และวางไว้หน้าศัพท์ที่เป็นส่วนย่อยนั้น
: เอตทัคค์ ภิกฺขเว... ภิกขุ, ยทิท
: คหนํ เหตุ ภนฺเต, ยาท มนุสสา ฯ (๒/๑๓)
เสยฺยถีทำ เป็นสำนวนชั้นอรรถกถา ใช้แสดงส่วนย่อยที่มี
หลายๆ อย่าง เช่น
- ตสฺมา ต์ ทิวส์ สตฺถา ฯเปฯ อนุปุพพิกถ์ กเถ
เสยฺยถีทำ ? ทานกถ์ สีลกถ์ ฯเปฯ (๑/๕)
: สงฺขิตเตน ปญฺจุปาทานขันธา ทุกขา เสยฺยถีท รู
ปูปาทาน ขนฺโธ ฯเปฯ
กล
ตามปกติแปลว่า อย่างไร แต่สำนวนแปลว่า คือ
ใช้ในกรณีที่จะแสดงเรื่องราว หรือจะอธิบายความให้
พิสดารออกไป
๑๒. คำว่า “เพราะ” มาจากคำว่า โต ตต ตา ภาว และ
เหตุ มีรูปเป็น กรณีโต กรเณน กรณตตา กรณีตาย กรณภาเวน
กรณีเหตุ ระวังอย่าให้สับสน ระหว่าง ตฺต กับ ตา เช่น
จะใช้ว่า
: เพราะเหตุที่เขามา
: ตสฺส อาคตตา หรือ ตสฺส อาคตตฺตาย ไม่ได้
จะต้องเป็น : ตสฺส อาคตตตา หรือ ตสฺส อาคตตาย
๑๓. ระวังศัพท์ที่มีรูปคล้ายๆ กัน ถ้าไม่สังเกตให้ดี จะเห็นเป็น