คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 340
หน้าที่ 340 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับประโยคกาลาติปัตติ ที่นักศึกษาควรทำความเข้าใจให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถแต่งประโยคได้อย่างเหมาะสม ภายในคู่มือจะอธิบายการใช้กิริยา วุจฺจติ ในการจัดสร้างประโยคอย่างมีระเบียบ โดยเสนอรูปแบบและตัวอย่างจากพระไตรปิฎกและวรรณกรรมโบราณ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและพัฒนาทักษะทางภาษาได้ดียิ่งขึ้น สามารถเยี่ยมชมเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาประโยคกาลาติปัตติ
-การใช้กิริยา วุจฺจติ
-การแต่งประโยคภาษาไทยเป็นมคธ
-ตัวอย่างการจัดประโยค
-การเรียนรู้จากพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๒๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ทยุยรฏเจเยว อุปปันน์ อโหสีติ ฯ (ประโยคกาลาติปัตติที่ผิดหลัก) เรื่องประโยคกาลาติปัตตินี้ นักศึกษาจ่าต้องศึกษาและทําความ เข้าใจให้ถ่องแท้ จึงจะสามารถจับใจความและแต่งให้ถูกหลักทางภาษา ได้ วิธีที่ดีที่สุดคือศึกษาและทำความเข้าใจจากตัวอย่างที่มีอยู่ในปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ท่านแต่งและใช้กันมาแต่โบราณ หรือจากพระไตรปิฎกโดยตรง ก็จะได้แบบที่ถูกต้องถือเป็นตัวอย่างได้ ง ประโยค วุจฺจติ ในประโยคที่มีข้อความสรุปเรื่องที่กล่าวมาข้างต้นว่า “นี้เรียก ว่า.......” และใช้กิริยาว่า วุจจติ คุมประโยค นิยมแต่งรูปประโยคเป็น ๒ แบบ คือ แบบที่หนึ่ง วางสรรพนามไว้หน้า ตามด้วย วุจจติ ต่อด้วย นามที่เรียก มีรูปแบบดังนี้ สรรพนาม + วุจฺจติ + นามที่เรียก ตัวอย่างเช่น อย วุจฺจติ รูปกขนฺโธ ๆ อิท วุจฺจติ อริยธน์ ฯ แบบที่สอง วางสรรพนามไว้หน้า ตามด้วยนามที่เรียก ตาม ด้วย อิติ และ วุจจติ ตามลำดับ มีรูปแบบดังนี้ สรรพนาม + นามที่เรียก + อิติ + วุจฺจติ ตัวอย่างเช่น อย โมฆปุริโสติ วุจฺจติ ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More