คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 178
หน้าที่ 178 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้เสนอวิธีการแปลและใช้ภาษาโดยละเอียด เช่น การใช้คำซ้อนและการปฏิบัติตามหลักการแปลในบริบทต่างๆ รวมถึงตัวอย่างที่ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาอย่างชัดเจน เช่น การพูดถึงความสำคัญของการทำกุศลของพราหมณ์ไปตามเวลาที่กำหนด. นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวถึงความสำคัญของการพิจารณาในขณะใช้ชีวิตประจำวันและการแปลที่ตรงตามความหมายอย่างถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-ตัวอย่างการใช้ภาษา
-หลักการแปลตามบริบท
-การพิจารณาในการใช้ภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๖๒ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ตา อนุปุพเพน มุคคมตตา กีฬายมตตา ฯเปฯ หุตวา ปภิชฺชีสุ ฯ เต ฯเปฯ อายาม ต์ ตโต วิหารา นิกกฑฺฒิสฺสามาติ ปกฺกมิตวา อนุปุพเพน ต์ วิหาร อามิสุ ฯ ปฏิปาฏิยา โดยสําดับบุคคล กาลเวลา สถานที่ ที่มาถึงหรือ ผ่านไป เช่น มณิกาโร.....ภริยญฺจ ปุตฺตญฺจ ธีตรญฺจ ปฏิปาฏิยา ปุจฉิตวา ฯเปฯ ภริยาย สุทธิ์ มนฺเตสิ ฯ - ปฏิปาฏิยา ตโย ทิวสา อติกกันตา, จตฺตเถ ทิวเส สรีร์ อุทธุมายิ ฯ (๔) สำนวนไทยว่า ทุก ทุกๆ เช่น ทุกๆ วัน ทุกๆ เวลา เป็นต้น ให้ใช้ซ้อนกัน ๒ ศัพท์ประกอบวิภัตติเป็นอย่างเดียวกันตาม เนื้อความ เช่น ความไทย : พราหมณ์ ธรรมดาบัณฑิตทั้งหลาย กระทำอยู่ซึ่ง กุศล ทีละน้อยๆ ทุกๆ ขณะ ย่อมขจัดมลทินอกุศล ของตนออกได้โดยลำดับ มคธเป็น : พราหมณ ปณฺฑิตา นาม ขเณ ขเณ โลก โลก กุสลํ กโรนตา อนุปุพเพน อตฺตโน อกุสลมล์ นีหรนฺติเยว ๆ (๗/๓) ความไทย : จีวรพึงพิจารณาทุกๆ ขณะที่ใช้สอย บิณฑบาต ทุก คำกลืน เสนาสนะทุกขณะที่ใช้สอย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More