คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 204
หน้าที่ 204 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับการแปลจากภาษาไทยไปเป็นมคธ โดยนำเสนอการใช้ศัพท์และโครงสร้างประโยคอย่างละเอียด อธิบายความหมายต่างๆ ของคำ เช่น คำว่า 'อล์' และการจัดเรียงคำในประโยคเพื่อเน้นความหมาย รวมถึงตัวอย่างที่แสดงถึงการใช้ศัพท์ในบริบทที่ถูกต้อง ผ่านการอ้างอิงจากพระไตรปิฎก ทำให้เป็นเครื่องมือที่ดีสำหรับผู้ที่มีความสนใจในการศึกษาภาษาและการแปล.

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษา
-ศัพท์มคธ
-โครงสร้างประโยค
-ตัวอย่างการใช้คำ
-พระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๘. คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ เป็น : อล์ หิ โว กาลามา กงฺขิต, อล์ วิจิกิจฉ (ในประโยคนี้ อล์ เป็นกิริยาคุมพากย์) (๔) อล์ ศัพท์ที่ใช้ในความหมายว่า พอ อาจ ที่เป็นวิเสสนะ ของบทประธาน จะเรียงไว้หน้าบทประธานหรือหลังบทประธานก็ได้ แล้วแต่ว่าจะเน้นความหรือไม่ และคำว่า เพื่อ ที่ตามมานั้น นิยมเรียง ไว้หลัง อล์ เช่นกัน เช่น ความไทย : แต่การบูชาพระศาสดา อาจที่จะเป็นประโยชน์แก่ เรา ในโกฏิกับเป็นอเนก เป็น : สตฺถุ ปูชา ปน เม อเนกา กัปปโกฏิส อล หิตาย เจว สุขาย จ (๓/๑๓๕) ความไทย : การกระทำเพียงเท่านั้น ก็พอเพื่อประโยชน์แก่พวก เป็น เรา : อล์ โน เอาตก์ หิตาย สุขาย (๕) อล์ ศัพท์ที่ใช้ในความหมายว่า พอละ อาจ ที่เป็นวิกติกัตตา นิยมเรียงไว้หน้ากิริยาว่ามีว่าเป็น หรือเรียงแบบวิกติกัตตาทั่วๆ ไป เช่น ความไทย : พระโอวาทที่พระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ทรง ประทานแล้วในวันเดียวเท่านั้น ได้เพียงพอไปถึง เป็น ความไทย : ๗ ปี : เอกทิวส์ ทินโนวาโทเยว หิสส สตฺตนฺนํ สำวจฉราน อล์ อโหสิ (๖/๑๐๐) ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ เป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More