คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 148
หน้าที่ 148 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้ได้อธิบายเกี่ยวกับการแปลภาษาไทยเป็นมคธโดยใช้หลักการของการลงปัจจัยที่ถูกต้องและวิธีการจัดรูปศัพท์ต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงของรูปคำในบริบทที่แตกต่างกัน คำแนะนำ และตัวอย่างการใช้ปัจจัยในการแปลเพื่อนักศึกษาที่ต้องการฝึกฝนและพัฒนาในการแปล ให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจง่ายและสามารถนำไปใช้ได้จริง โดยเนื้อหามีการยกตัวอย่างเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-การใช้ปัจจัย
-รูปศัพท์
-การศึกษา ป.ธ.
-ตัวอย่างการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๓๒ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ประโยคว่า : อตฺตโน ภาคิเนยฺยสฺส ทีฆนขปริพพาชกสุส เวทนาปริคคหสุตฺตนฺเต เทสียมาเน (๑/๔๗) แต่งเสียว่า : อตฺตโน ภาคเนยยสฺส ฯเปฯ สุตฺตนฺเต เทสิยนฺเต (ผิด) (๖) อนุต ปัจจัย เมื่อเป็นอิตถีลิงค์ ท่านให้ลง อี เป็น อนุติ แต่ผู้ศึกษาไม่ได้ลง อี เช่น : สา อตฺตโน กมุมนต์ กโรนฺตา เถร อททส ฯ (ที่ถูกต้องเป็น กโรนฺตี) (๗) ต้องจ๋ารูปศัพท์ให้แม่นยำว่า ถ้าเป็นกิริยาของวาจกอะไร ลงปัจจัยไหน จะได้รูปอย่างไร เช่น กร ธาตุ เมื่อลงกับปัจจัยต่างๆ แล้ว จะมีรูปเป็นต่างๆ กัน เช่น ตัวอย่าง กรฺ + อนฺต - กโรนโต กุพฺพนโต กุพพ์ กร (กัตตุ.) กรฺ + มาน กรมาโน กุรุมาโน (กัตตุ.) กรฺ + มาน - กริยมาโน (กัมม.) กรฺ + ตพฺพ กาต นํ กตฺต พั (กัมม.) กรฺ + ต - กโต (กัมม.) การิโต การาปิโต (เหตุกัมม.) ฯลฯ (๔) ปัจจัยที่ประกอบด้วยธาตุแล้วแปลงรูปไปต่างๆ และเป็นวาจก นั้น เป็นวาจกนี้ ต้องใช้ให้เป็นและจําให้ได้แม่นยำ เช่น ฉนฺโน ชิณโณ ตุฏฺโฐ อาทาย นิสสาย นิกขมุม อุปปชช ปคคห เป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More