ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
สั้นๆ มีเนื้อความสิ้นสุดหรือยัง ก็ดูที่กิริยาคุมพากย์นี้ กิริยาประเภทนี้
ได้แก่ กิริยาที่ประกอบด้วยปัจจัยในอาขยาตทั้งหมด และปัจจัยใน
กิริยากิตก์ที่ เป็นกิริยาคุมพากย์ได้ เช่น ต อนีย ตพฺพ ปัจจัย
บทกิริยานี้ ส่วนมากเรียงไว้หลังสุดประโยค เช่น
สา ทสมาสใจเยน ปุตต์ วิชาย ฯ (๑/๓)
- เอว สมฺปทมิท เวทิตพพ์ ฯ (๑/๔๗)
บทกิริยาระหว่าง เรียกว่าอนุกิริยา หรือ อัพภันตรกิริยา ได้แก่
กิริยาที่แทรกอยู่ในกลางประโยคที่มีเนื้อความยาวๆ หรือประโยคที่มี
กิริยาหลายๆ ตอน ก่อนที่จะถึงกิริยาใหญ่คุมพากย์
กิริยาประเภทนี้ ได้แก่ กิริยาที่ประกอบด้วย อนุต มาน ปัจจัย
และ ตฺวา ปัจจัย เป็นต้น นั่นเอง เช่น
-
โส เอกทิวส์ นหานติตถ์ คนตวา นหาตวา อาคจฉนฺโต
อนุตรามคฺเค สมฺปนฺนสาข์ เอก วนปปติ ทิสวา ฯเปฯ
ปกฺกามิ ฯ (๑/๓)
ปุจฉา วินยธโร ตตฺถ ปวิฏโฐ ต์ อุทก ทิสวา
นิกขมิตวา อิตร์ ปุจฉิ ฯ (๑/๔๙)
บทขยายกิริยา
บทขยายกิริยา คือ บทที่ช่วยทำให้กิริยาสมบูรณ์และมีเนื้อความ
เด่นชัดขึ้น บทขยายกิริยานี้ ได้แก่ ศัพท์ที่สัมพันธ์เข้ากับกิริยาทั้งหมด
ยกเว้นบทกรรมนั่นเอง ศัพท์ประเภทนี้ได้แก่ศัพท์ ทุติยาวิภัตติ ตติยา