ข้อความต้นฉบับในหน้า
50 คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
ข้างต้น
เช่น
: เอว์ เปเสตุ น สกกา ฯ (๑/๑๓)
๓. บทอนภิหิตกฤตา นิยมเรียงไว้หน้า ๆ ปัจจัย ดังตัวอย่าง
๔. บทประธานในประโยค กมุมวาจก นิยมเรียงไว้หน้า สักกา
: พุทธา จ นาม น สกกา สเจน อาราเธตุ ฯ (๑/๔)
: สมณธมฺโม นาม สรีเร ยาเป็นฺเต สกฺกา กาตุฯ (๑/๙)
ที่เรียงไว้หลังก็มีบ้าง เช่น
: น สกกา โส อคารมชเฌ ปูเรต ฯ (๑/๖)
๕. สกกา ถ้ามีกิริยาว่ามี ว่าเป็นคุมพากย์อยู่ ก็ทำหน้าที่เป็น
วิกติกตฺตา เข้ากับกิริยานั้น เช่น
: โลกุตตรธมฺโม นาม น สกุกา โหติ เถเนตวา คณฺหตุ ฯ
5. สกฺกา ทำหน้าที่เป็นบทประธานในประโยคได้บ้าง เช่น
: ตตฺถ นํ อาคต์ คเหตุ สกกา ภวิสฺสติ ฯ (๒/๓๒)
วิธีเรียงประโยค อนาทร
ประโยคอนาทร คือ ประโยคที่แทรกเข้ามาในประโยคใหญ่
เป็นประโยคที่มีเนื้อความไม่เอื้อเฟื้อคล้อยตามประโยคที่ตนแทรกเข้ามา
แต่ทําให้เนื้อความในประโยคใหญ่ชัดเจนขึ้น
ประโยคอนาทรประกอบด้วย ส่วนประกอบใหญ่ ๒ ส่วน คือ