การแปลงประโยคและการล้มประโยค คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 247
หน้าที่ 247 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการแปลงประโยคและวิธีการล้มประโยคในภาษาไทย โดยชี้แจงถึงการใช้บทขยายกิริยาและนามในประโยค รวมถึงตัวอย่างการเปลี่ยนรูปประโยคตามหลักการที่ถูกต้อง โดยสามารถใช้การตัดคำและการย้ายบทประธานเพื่อสร้างความเข้าใจในรูปแบบประโยคใหม่ ช่วยให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ภาษาจากการปฏิบัติจริงในองค์ความรู้ในด้านนี้อย่างครอบคลุม โดยอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การแปลงประโยค
-การล้มประโยค
-บทขยายกิริยา
-บทขยายนาม
-หลักการใช้ภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อธิวาเสถ ฯ การแปลงประโยคและการล้มประโยค ๒๓๑ ความไทย : เทพยดาทั้งหลาย ก็ส่งขนมทิพย์ไปให้แก่ เดม เป็น = หรือ = พระกุมารนั้น ตลอดเวลาที่พระกุมาร ยังอยู่ท่าม กลางเรือน = ยาว อคารมชุเฌ วสิ, ตาวสฺส เทวตา ทิพฺพปูเว ปริณีสุ ฯ (๑/๑๒๖) ยาว อคารมชเฌ วสนาสุส เทวตา ทิพพปูเว ปริณีสุ ฯ ยาวสฺส อคารมชเฌ วิสนา เทวตา ทิพฺพปูเว ปริณีสุ ฯ ตัวอย่างประโยค ย ขยายบทกิริยาหรือขยายนาม บทขยายกิริยาในที่นี้ ได้แก่ บทที่สัมพันธ์เข้ากับกิริยา เช่น บทตติยาวิภัตติ ปัญจมีวิภัตติ เป็นต้น บทขยายนาม คือ บทที่ สัมพันธ์เข้ากับนาม เช่น บทฉัฏฐีวิภัตติ เป็นต้น บทเหล่านี้ ถ้ามี ประโยค ย ขยาย และต้องการล้มประโยค ย นั้นเสีย จึงทำดังนี้ (๑) ตัด ย ต ที่รับกันออกเสีย เหลือไว้แต่รูปปัจจัย หรือวิภัตติใน ประโยค ต เท่านั้น (๒) ให้เอาบทประธานในประโยค ย มาสมาสกับกิริยาเดิมของ ตน โดยให้วางกิริยาไว้ข้างหน้า แล้วนำบทสมาสนั้นมาประกอบกับปัจจัย หรือวิภัตติที่เหลือไว้ในประโยค ต (๓) บทประธานในประโยค ต จะย้ายไปไว้ต้นประโยคบ้างก็ได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More