ไวยากรณ์และสัมพันธ์ 131 คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 147
หน้าที่ 147 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการใช้ปัจจัยในการแต่งกิริยาภาษาไทย โดยแนะนำวิธีสังเกตความไทยในประโยค รวมถึงการเลือกใช้ปัจจัยตามความหมายและเวลาในการสื่อสาร การเลือกใช้ปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับกิริยา เช่น อนุตและมาน รวมถึงข้อควรระวังในการใช้งาน โดยเฉพาะในการแต่งรูปกัมมวาจกให้ถูกต้องตามหลักการ.

หัวข้อประเด็น

-การใช้ปัจจัยในกิริยา
-การสังเกตความไทย
-การแต่งรูปวาจก
-วิธีเลือกปัจจัย
-ข้อควรระวังในการแต่งประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ์ ๑๓๑ (๑) ก่อนจะใช้ปัจจัยอะไร ประกอบเป็นศัพท์กิริยาในตอนนั้นๆ พึงอ่านความไทยและสังเกตให้ดีว่า ความไทยตอนนั้น บ่งการไว้บ้าง หรือไม่ เช่น คำว่า “อยู่, กำลัง, แล้ว, ได้แล้ว” เป็นต้น เมื่อเห็น ความไทยเช่นนั้น ก็พอจะมองออกได้ว่าควรแต่งในรูปไหน เช่น คำว่า อยู่ กำลัง เมื่อ ก็ใช้ อนุต มาน ปัจจัย หรือถ้าเป็นกิริยาคุมพากย์ ก็ใช้วิภัตติหมวดวัตตมานา เป็นต้น แล้วแต่กรณี (๒) สังเกตความตอนนั้นว่า จะแต่งเป็นรูปวาจกอะไรก่อน แล้ว จึงค่อยใช้ปัจจัยประจําวาจกนั้นๆ (๓) ถ้าความไทยไม่มีค่าเหล่านั้นอยู่ ให้สังเกตความตอนนั้นว่า เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นแล้ว หรือกำลังเกิดขึ้น ถ้าเกิดขึ้นแล้วก็ใช้ปัจจัยที่ เป็นอดีต ถ้ากำลังเกิดขึ้น ก็ใช้ปัจจัยที่บ่งปัจจุบัน (๔) สังเกตความตอนนั้นว่า จะแต่งเป็นรูปวาจกอะไรก่อน แล้ว จึงใช้ปัจจัยประจําวาจกนั้นๆ (๕) อนุต ปัจจัย ใช้ได้ ๓ วาจก เท่านั้น คือ กัตตุวาจก ภาววาจก และเหตุกัตตุวาจก มาน ต ปัจจัย ใช้ใน ๕ วาจก มักจะมีเผลอกันบ่อยๆ ที่ใช้ อนุต ปัจจัย ประกอบเป็นรูปกัมมวาจก โดยลง ย ปัจจัย และ อิ อาคม หน้า ย ด้วย เช่น อุปฏฐิยนฺโต ประโยคว่า : สตฺถา ปน เป็น หตถินา อุปฏฐิยมาโน สุข์ วสิ ฯ (๑/๕๓) แต่งเสียว่า : สตฺถา ปน เป็น หตถินา อุปฏฐยนฺโต สุข วสิฯ (ผิด)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More