กฎเกณฑ์การเรียงประโยค ๖๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 85
หน้าที่ 85 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอวิธีการเรียงนิบาตโดยมีกฎเกณฑ์เฉพาะสำหรับการปฏิเสธกิริยาอาขยาต ไม่แปลงรูปเป็น อ หรือ อน, การปฏิเสธกับกิริยา นาทีปัจจัย และการปฏิเสธกิริยากิตก์ที่คุมพากย์ได้ ซึ่งการเรียงประโยคตามหลักการนี้มีความสำคัญต่อการใช้งานภาษาอย่างถูกต้อง. สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม สามารถเข้าไปที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-กฎเกณฑ์การเรียงประโยค
-การปฏิเสธกิริยา
-วิธีการเรียงนิบาต
-กิริยาที่คุมพากย์ได้
-การแปลงรูปกิริยา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กฎเกณฑ์การเรียงประโยค ๖๙ ต่อไปนี้ จักกล่าวถึงวิธีการเรียงนิบาตแต่ละศัพท์ เฉพาะที่มีกฎ เกณฑ์พิเศษออกไป วิธีเรียง น ศัพท์ ๑. เมื่อปฏิเสธกิริยาอาขยาตให้คงรูปไว้ ไม่นิยมแปลงเป็น อ หรือเป็น อน ถ้าแปลงถือว่าเป็นผิดร้ายแรง เช่น : - ปรโลก คจฺฉนต์ ปุตตรีตโร วา โภคา วา นานุคจฉันติ ฯ (ไม่ใช่ อนานุคจฉนฺติ) (๑/๖) : สรีร์ปิ อตฺตนา สุทธิ น คจฉติ ๆ (ไม่ใช่ อาจฉติ) (๑/๖) ๒. เมื่อปฏิเสธกับกิริยา นาทีปัจจัย เช่น ตวา ปัจจัยเป็นต้น และปฏิเสธ อนุต มาน ปัจจัย นิยมแปลงเป็น อ หรือเป็น อน เช่น : โภ โคตม ตุมหาก ทาน อทตวา ปูช์ อกตวา ธมฺม อสฺสุตวา... (๑/๓๑) : โส ตสฺสา อนาจิกขิตวา ว อคมาสิ ฯ : อุปาสโก ธมฺมสฺสวนนุตราย อนิจฺฉนฺโต อาคเมถ อาคเมญาติ อาห์ ฯ (๑/๑๒๑) ๓. เมื่อปฏิเสธกิริยากิตก์ที่คุมพากย์ได้ คือ อนีย ตพุพ ปัจจัย จะแปลงหรือคงไว้ก็ได้ เช่น : ตนเต ยาวชีว์ อกรณีย์ ฯ - อุฏฐาย เต ปัจจุคคมน์ กตนฺติฯ น กต ภนฺเตติ ฯ (๑/๓๖)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More