ข้อความต้นฉบับในหน้า
ไวยากรณ์และสัมพันธ์ ๑๑๗
กิริยาอย่างหนึ่งทำหน้าที่คุมพากย์ อีกอย่างหนึ่งต้องประกอบด้วย อนุต
มาน ปัจจัยวางไว้ข้างหน้าหรือข้างหลังกิริยาคุมพากย์นั้น ซึ่งแสดงว่า
กิริยา ๒ อย่างนั้น ทำพร้อมกัน เกิดขึ้นพร้อมกัน
ในกิริยา ๒ อย่างนั้น ให้ถือกิริยาอาการหรืออิริยาบถใหญ่ เช่น
ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ฯลฯ เป็นหลัก คือ ให้ประกอบเป็นกิริยา
คุมพากย์
อีกกิริยาหนึ่ง ให้ถือเป็นกิริยารองหรือกิริยาย่อย ประกอบด้วย
อนุต มาน ปัจจัย กิริยาคุมพากย์นั้นจะประกอบเป็นปัจจุบันกาลหรือ
อดีตกาลก็แล้วแต่เนื้อความ
สรุปง่ายๆ ก็คือ ถ้าทำกิริยาพร้อมกัน ๒ อย่าง ให้ประกอบ
กิริยาย่อย ด้วย อนุต มาน ปัจจัย
คุมพากย์ เช่นตัวอย่าง
ประกอบกิริยาใหญ่เป็นกิริยา-
: ตาม สมเย สตฺถา ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก เชตวน
มหาวิหาเร วิหรติ มหาชน สคฺคมคเค จ โมกขมคเค
จ ปติฏฐาปะมาโน ๆ (๑/๔)
: เทวปุตโตปิ ฯเปฯ อาฬาหนสสาวิทูเร พาหา ปคฺคยฺห
โรทนฺโต อฏฐาสิ ๆ (๑/๒๖)
แม้ อนุต มาน ปัจจัย ที่มาคู่กับ ต ปัจจัย ก็พึงเทียบเคียงตาม
นัยนี้ เช่น
: วิสาขา สสร์ วีชมานา จิตา ต์ ทิสวา อปคนตวา
อฏฐาสิ ฯ (๓/๖๐)