คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 238
หน้าที่ 238 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ นี้ นำเสนอหลักการที่สำคัญในการแปลจากภาษาไทยเป็นมคธ โดยมุ่งเน้นที่การเข้าใจและใช้รูปแบบของกิริยาและอนภิหิตกัตตา เพื่อให้สามารถแปลงประโยคได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ. ในบทนี้จะอธิบายถึงการเปลี่ยนรูปประโยคพร้อมตัวอย่างการแปลที่ชัดเจน เรื่องของตัวอนภิหิตกัตตา, ตัวกรรม, และกิริยา รวมถึงกรณีการเปลี่ยนรูปกิริยาเป็นอดีตกาล สิ่งสำคัญคือการรับรู้และสามารถใช้งานเพื่อการศึกษาและการแปลในระดับปริญญา

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-หลักการประโยค
-กิริยากิตก์
-การใช้ปัจจัยในภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๒๒ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ (๑) ตัวอนภิหิตกัตตา คือ ผู้ทำกิริยานั้น จะต้องกลับเป็นตัวประธาน มีรูปเป็นปฐมาวิภัตติ (สูเทน เป็น สูโท) (๒) ตัวกรรม (วุตฺตกมฺม) ซึ่งเป็นตัวประธาน จะต้องกลับเป็น ตัวอวุตฺตกมฺม ( ง) ประกอบด้วย ทุติยาวิภัตติ (โอทโน เป็น โอทน์) (๓) ตัวกิริยา ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยในกัมม. จะต้องประกอบ ด้วยปัจจัยในกัตตุ ตัวใดตัวหนึ่งใน ๑๐ ตัว แล้วแต่ว่ากิริยานั้นจะอยู่ใน หมวดธาตุอะไร (ปริยเต เป็น ปจติ) (๔) ถ้ากิริยานั้นเป็นกิริยากิตก์ ต ปัจจัย อาจเปลี่ยนเป็นกิริยา อาขยาตในรูปอดีตกาลได้ แม้จะเพิ่ม อ อาคม เข้ามาด้วยก็ได้ไม่ผิด ตัวอย่าง ความไทย : พ่อครัวหุงข้าวสุก กัมม. : สูเทน โอทโน ปริยเต ฯ กัตตุ สูโท โอทนํ ปจติ ฯ หลักนี้ถือว่าเป็นแม่บทต้องจำให้ได้แม่นยำ และควรถือว่าเป็น หลักในการแปลงประโยคกัมม. เป็นกัตตุ. เลยทีเดียว ดูตัวอย่างอื่นเทียบเคียง : ความไทย เดี๋ยวนี้เอง เราได้ยินเสียงขับอย่างหนึ่งแล้ว กัมม. : อิทาเนเวโก คีตสทฺโท สูยิตฺถ ฯ (๑/๑๕) กัตตุ : อิทาเนเวก คีตสทท์ อสโสสี ๆ หรือ : อิทาเนวาห์ เอก คีตสทท์ สุณี ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More