คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 106
หน้าที่ 106 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือการแปลนี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเทคนิคการแปลภาษาจากไทยเป็นมคธ โดยเน้นวิธีการเรียงประโยคและเลือกใช้คำที่เหมาะสม รวมไปถึงการใช้ปัจจัยในอัพยยศัพท์ ซึ่งมีตัวอย่างการแปลที่ชัดเจน เช่น การตั้งประโยคเกี่ยวกับพระธรรมเทศนาและการใช้สัพพนามที่ถูกต้อง ผู้แปลจะได้เรียนรู้การปฏิบัติที่ดีเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นธรรมชาติและสมูทขึ้น เช่นเดียวกับการพัฒนาทักษะการแปลภาษาศาสนาในพระไตรปิฎก.

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-เทคนิคการเรียงประโยค
-ปัจจัยในอัพยยศัพท์
-ตัวอย่างการแปล
-การใช้สัพพนามอย่างถูกต้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๙) คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ : อเถิกทิวส์ มหาปาโล ฯเปฯ ทิสวา “อย์ มหาชโน กุห์ คนตีติ ธมฺมสฺสวนายาติ “อห์ปิ คมิสสามีติ คนตวา ฯเปฯ ขอให้สังเกตว่า ประโยคที่เรียงใหม่ แม้จะไม่ผิด แต่ก็มองดูห้วนๆ ไม่สละสลวยเลย เพราะฉะนั้นในระหว่าง อิติ สองศัพท์ ควรจะมีกิริยา คั่นกลางอยู่ วิธีเรียงปัจจัยในอัพยยศัพท์ ปัจจัยในอัพยยศัพท์ คือ โต ตร ตฺถ ท ธ ธิ ที่ ห์ ริญจน์ ว ที่ใช้ประกอบกับนามนามบ้าง สัพพนามบ้าง ได้รูปเป็น ตโต กุโต ตตฺร อิธ กห์ เป็นต้น เมื่อนำไปเรียงเข้าประโยค นิยมใช้โดดๆ มีรูป เป็นวิเสสนะซึ่งไม่ต้องใส่นามเจ้าของที่ตนขยายเข้ามาทํากับ แปลผู้แปลต้องโยกศัพท์นามเจ้าของเอาเอง เช่น แต่เวลา : พระธรรมเทศนานี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส ณ ที่ไหน : อย์ ธมฺมเทสนา กตฺถ ภาสิตาติ ฯ จะเรียงว่า อย์ ธมฺมเทสนา กตฺถ ฐาเน ภาสิตาติ ฯ ไม่ได้ : ท่านมาจากที่ไหน : กุโต อาคโตสีติ ฯ จะเรียงว่า กุโต ฐานโต อาคโตสีติ ฯ ไม่ได้ ถ้าจะใสนามเจ้าของเข้าไว้ด้วย ต้องไม่ใช้ปัจจัยเหล่านี้ ต้องใช้ สัพพนามตรงๆ และถ้าใช้สัพพนามต้องใส่นามเจ้าของกำกับด้วย ถ้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More