คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 256
หน้าที่ 256 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยนักศึกษาและผู้ที่สนใจในการแปล เอกสารและประโยคจากภาษาไทยไปเป็นภาษามคธ โดยมีตัวอย่างและกฎในการแปล เพื่อให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น การใช้รูปแบบของวิภัตติตามที่เข้าใจในสำนวนภาษา และการแปลสาธนะ ซึ่งช่วยให้นักเรียนสามารถเข้าใจและแปลประโยคได้ดีขึ้นได้อย่างมีระบบ ดังนั้นในการแปลต้องคำนึงถึงคำแปลของสำนวนซึ่งมีความหมายและการใช้ที่แตกต่างกัน สุดท้ายนี้ การฝึกฝนการแปลในเชิงลึกจะเป็นกุญแจสำคัญในการพัฒนาทักษะการแปลของนักเรียนในสายการศึกษานี้

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-หลักการแปล
-สำนวนและรูปแบบการแปล
-การศึกษาและวิชาการ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๔๐ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ความไทย : ท่านเศรษฐีตั้งชื่อลูกชายคนนั้นว่า ปาละ เพราะบุตรนั้น ตนอาศัยต้นไม้เจ้าป่าที่ตน บริบาลได้มา เดิม = เป็น = เสฏฐี อตฺตนา ปาลิต วนปุปต์ นิสสาย พุทธตตา ตสฺส ปาโลติ นาม อกาส ฯ (๑/๓) ยสุมา อตฺตนา ปาลิต วนปุปต์ นิสสาย สทฺโธ ตสุมา เสฏฐี ตสฺส ปาโลติ นาม อกาส ฯ ความไทย : พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระองค์ ไม่อาจเรียน คันถธุระได้ เพราะข้าพระองค์บวชเมื่อภายแก่ ภนฺเต มหลุลูกกาเล ปพฺพชิตโต คนถธุร ปูเรต น สกขิสสามิ ฯ (๑/๗) เดิม = เป็น = ยสุมา ภนฺเต มหลุลูกกาเล ปพฺพชิโตมหิ, ตสมา คนถธุร์ ปูเรต น สกขิสสามิ ฯ ยังมีสำนวนไทยอีกแบบหนึ่ง ที่นิยมนำมาแต่งเป็นประโยคใหม่ ได้คือ สำนวน แปลสาธนะ เช่นที่แปลว่า “เป็นที่ เป็นเครื่อง เป็น แดน เป็นเหตุ” เป็นต้น เมื่อพบสำนวนประเภทนี้ จึงรู้ว่าท่านแปลตัด มาจาก ย ต คือ ตัด ย ต ออก หรือแปลให้สร้างประโยคใหม่ได้ ฉะนั้นเวลาจะประกอบเป็นประโยค ย ต จึงทำดังนี้ (๑) ในประโยค ย ย จะมีรูปเป็นวิภัตติอะไร ก็ให้ดูที่คำแปลใน สำนวนเป็นหลัก ถ้าท่านแปลว่า “เป็นที่” ให้มีรูปเป็น ยตฺถ ถ้าแปลว่า “เป็นแดน” ให้มีรูปเป็น ยสฺมา แปลว่า “เป็นเครื่อง เป็นเหตุ” ให้มีรูป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More