คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 210
หน้าที่ 210 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือฉบับนี้นำเสนอวิธีการใช้เอกศัพท์ที่แปลว่า 'หนึ่ง' ซึ่งทั้งเป็นสังขยาและสัพพนาม โดยมีการอธิบายถึงความแตกต่างและวิธีการใช้งานในประโยค รวมทั้งตัวอย่างการใช้คำในบริบทต่าง ๆ พร้อมทั้งความสำคัญของการแยกส่วนย่อยจากส่วนใหญ่เพื่อความชัดเจนในการใช้งาน.

หัวข้อประเด็น

-การใช้เอกศัพท์
-ความหมายของสังขยา
-ความหมายของสัพพนาม
-ตัวอย่างการใช้งาน
-การแยกส่วนในประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๙๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ การใช้ เอก ศัพท์ ที่แปลว่า “หนึ่ง” เป็นได้ทั้งสังขยา และสัพพนาม มีวิธีใช้ ต่างกัน คือ เอก สังขยา ใช้ในกรณีนับจำนวน เช่น หนึ่งคน สองคน เป็นต้น เอกสัพพนาม ใช้ในกรณีกำหนดบุคคล สัตว์ สิ่งของ ที่ยัง ไม่ปรากฏชัด ไม่แน่นอน มีคติดุจ อญฺญตร ศัพท์ ดังกล่าวแล้ว เช่น : อถ น เอโก ทหรภิกขุ กติวสุสา ตุมเหติ ปุจฉาวา ฯเปฯ (๑/๓๖) : เอโก กร สาวตถีวาสี กุลปุตโต สตฺถิ สนฺติเก ธมฺมก สุตวา สาสเน อุร์ ทตวา ปพฺพชิโต ลทรูปสมฺปโท ติสฺสตฺเถโร นาม อโหสิ ฯ (๒/๑๔๕) นอกจากนี้ ยังใช้กรณีที่แยกส่วนย่อย ออกจากส่วนใหญ่ เพื่อ มิใช่เป็นการนับจำนวน เช่น กำหนดได้สะดวก : เอว เทเสนฺตสฺส ปูน ตถาคตสฺส สนฺติเก นิสินนาน เตส เอโก นิสินฺนโกว นิททาย, เอโก องฺคุลิยา ภูมิ วิลิขนฺโต นิสีทิ ฯ (๗/๒๕) อนึ่ง เอกสัพพนาม ถ้าใช้ในกรณีเน้นให้ความนั้นๆ หนักแน่นขึ้น ท่านใช้ศัพท์นี้ ควบกัน ๒ ศัพท์ เป็น เอเกก แปลว่า แต่ละคนแต่ละ อย่าง เช่น : เตาสเทวปุตตา อตฺตโน กุมภ รตนปลุลงเก นิ สีที่สุ ฯ เหตุที่สาย กุมภาน เอเกกลุ่ม กุมภ สตฺต สตฺต ทนฺเต มาเปส, เตสุ เอเกโก ปณฺณาสโยชนา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More