กฎเกณฑ์การเรียงประโยค คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 93
หน้าที่ 93 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับกฎเกณฑ์การเรียงประโยคในภาษาไทย รวมถึงการใช้ศัพท์และวิธีการสนธิ ซึ่งเน้นถึงการเรียงคำและโครงสร้างประโยคที่ถูกต้อง การศึกษาวิธีการเรียงศัพท์ช่วยให้เข้าใจและใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีการอธิบายเกี่ยวกับศัพท์วา และวิธีการจัดเรียงที่สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ต่างๆในภาษาไทย เช่น การควบประธาน การเปลี่ยนรูปกิริยา และการใช้ศัพท์ที่ลงท้ายด้วยนิกขหิต ฯลฯ

หัวข้อประเด็น

-การเรียงประโยค
-ศัพท์ในภาษาไทย
-การใช้ศัพท์วา
-กฎเกณฑ์ไวยากรณ์
-การควบประธาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กฎเกณฑ์การเรียงประโยค ๗๗ อรุณคุคมนุญฺจ ตสฺสา คพาวุฏฐานญฺจ เอกกฺขเณเยว อโหสิ ฯ (๒/๕) 0 5. เมื่อ ๑ ศัพท์ควบกับศัพท์ที่ลงท้ายด้วย (นิคคหิต) นิยม สนธิกับศัพท์นั้น เช่น : อเดกา สุสานโคปิกา กาลี นาม ฉวฑาฬิกา เถรสส จิตฏฐานญา นิสีทนฏฐานญฺจ จากมนฏฐานญา ทิสวา.... ฯเปฯ (๑/๖๒) วิธีเรียง วา ศัพท์ วา ศัพท์ ที่แปลว่า หรือ บ้าง มีวิธีค่อนข้างสลับซับซ้อน เหมือน จ.ศัพท์ แต่เมื่อศึกษาวิธีการเรียง จ ศัพท์ได้ดีแล้ว ก็อาจเรียง จ วา ศัพท์ได้โดยไม่ยาก จึงสรุปวิธีเรียง วา ศัพท์ได้ว่า ๑. เมื่อควบบท หรือ ควบพากย์ นิยมเรียงเหมือน จ ศัพท์เป็น พื้น คือ เมื่อควบศัพท์ไหนให้เรียงไว้หลังศัพท์นั้น และให้เรียงไว้เป็นที่ ๒ ของทุกตอนเป็นต้นเหมือน จ ศัพท์ เช่น : เสสเนหิ กตสสส์ อติอุทเกน วา อโนทเกน วา นสฺสติ ฯ (๑/๔๘) : กสิ ตว์ อาวุโส อุททิสส ปพฺพชิโต, โก วา เต สตถา, กสฺส วา ตว์ ธมฺม โรเจส ๆ (๑/๔๓) ๒. เมื่อ วา ศัพท์ควบตัวประธานที่เป็นเอกพจน์ ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ ขึ้นไป ไม่ต้องเปลี่ยนกิริยาเป็นพหูพจน์เหมือน จ ศัพท์ เช่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More