การใช้ศัพท์ในประโยคคำถาม คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 199
หน้าที่ 199 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้แสดงการใช้ศัพท์ในประโยคคำถามในภาษาไทย โดยเน้นว่าศัพท์บางคำจะต้องปรากฏอยู่ต้นประโยค เช่น บทสนทนาเกี่ยวกับพระเถระที่ตรวจดูผ้า และการใช้ศัพท์ 'กี' ที่จำกัดอยู่ในประโยคคำถามเท่านั้น โดยไม่ใช้ในการบอกเล่าธรรมดา นอกจากนี้ยังพูดถึงความสำคัญของการเลือกใช้คำเพื่อให้การสื่อสารชัดเจนและเข้าใจง่าย ยกตัวอย่างเรื่องคำถามและการตีความความหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับศัพท์ในประโยค เพื่อช่วยให้ผู้เรียนภาษาไทยเข้าใจการใช้งานได้ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การใช้ศัพท์ในประโยคคำถาม
-ความหมายของศัพท์ในภาษาไทย
-การสื่อความหมายในภาษาต่างๆ
-ตัวอย่างการใช้ศัพท์ในบริบทต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ศัพท์และความหมาย ๑๘๓ ต้องวางไว้ต้นประโยคเหมือน ปี ในประโยคคำถาม เช่น ความไทย พวกพราหมณ์เหล่านี้มีกำลังด้วย มีมากด้วย ถ้า เป็น : เราพูดอะไรในที่สมาคม ทุกคนแม้ทั้งหมดก็จะลุก ขึ้นเป็นกลุ่ม เอเต พลวนโต เจว พหู จ สเจ สพฺเพส สมาคมฏฐาเน กิญจิ กิเลสสามิ สัพเพปิ วคค วคเคน อุฏฺฐเหย (กิญจิ เป็นวิเสสนะของ วจน์) (๖/๑๐๗) ความไทย : พระเถระคลี่ผ้าเก่าที่เขานั่งตรวจดู ไม่เห็นส่วนใด เป็น ที่พอจะถือเอาแม้พอทำเป็นผ้ากรองน้ำได้ จึงแขวน ไว้ที่กิ่งไม้กึ่งหนึ่ง พร้อมทั้งกระเบื้อง : เตน ปน นิวตฺถปิโลติกขณฑ์ โอโลเกนโต ปริสฺสาวนกรณีมตฺตมป์ คยหุปค์ กัญจิ ปเทส อทิสวา กปาเลน สทธิ์ เอกิสสา รุกฺขสาขาย จเปสิ (๕) กี ศัพท์ในรูปของ กี ก็ดี กา ก็ดี โก ก็ดี ใช้ในประโยค คำถามเท่านั้น ไม่ได้ใช้ในประโยคบอกเล่าธรรมดา แม้ในประโยค ธรรมดาจะมีสำนวนว่า ใคร อะไร อยู่ก็ตาม ต้องใช้ ที่ ศัพท์ที่มี จิ ตาม เป็น โกจิ กาจิ กิญจิ ซึ่งแปลว่า ใคร ๆ ..........ไรๆ แต่สำนวน ไทยสันทัดแปลสั้น ๆ ว่า ใคร อะไร เฉยๆ เช่น ความไทย : ก็อะไรอยู่ในห้องนั้น สามเณร ๆ เป็น : กี ปเนตสฺมึ คนฺเภ โหติ สามเณร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More