คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 364
หน้าที่ 364 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแปลภาษาไทยเป็นมคธ โดยเน้นการใช้ยุตต์และวฏฺฏติในบทประธานที่ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ การใช้กิริยาอรหติ และการใช้บทวิกติกมุมในการสร้างประโยคให้ถูกต้อง นอกจากนี้ยังมีรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดเรียงของกัมมวาจกในรูปแบบที่ถูกต้องซึ่งจะช่วยในการศึกษาและการสื่อสารในภาษามคธได้อย่างมีประสิทธิภาพ.

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-กิริยาที่ใช้ในประโยค
-รูปแบบของบทความในมคธ
-การใช้ยุตต์และวฏฺฏติ
-วิธีการสร้างประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๔๘ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ก. ถ้าบทประธานประกอบด้วย ๆ ปัจจัย กิริยาว่า ควร ใช้ยุตต์ และ วฏฺฏติ - อิทานิ มยุห์ คนต์ ยุตต์ ฯ : น มยุห์ เอว์ กาตุ วฏฺฏติ ฯ ข. ถ้าบทประธานประกอบด้วย ยุ ปัจจัย กิริยาว่า ควร นิยมใช้ ยุตต์ เท่านั้น ไม่นิยมใช้ วฏฏติ เช่น - มยุห์ สสุรสุส วจเนน ปฐมเมว คมน์ น ยุตต์ ฯ (๓/๖๓) ค. ถ้ามีนาม หรือสัพพนามเป็นประธานในประโยค ไม่ใช้ ยุตต์ และ วฏฺฏติ เป็นกิริยาคุมพากย์ แต่ใช้กิริยาว่า อรหติ หรือศัพท์ว่า อนุจฺฉวิโก เป็นต้น เช่น : น โส กาสาวมรหติ ฯ (๑/๗๓) : นริท เทวทตฺตสฺส อนุจฉก (๑/๗๑) ๓๑. บทวิกติกมุม (ให้เป็น, ว่าเป็น) ถ้าเข้ากับกิริยาที่เป็นกัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก ต้องประกอบด้วยทุติยาวิภัตติ ถ้าเข้ากับกิริยา ที่ เป็นกัมมวาจกและเหตุกัมมวาจก ต้องประกอบด้วย ปฐมาวิภัตติ เช่น กัตตุ : น สกกา วิหาร ตุจน์ กาตุ ฯ (๔/๕๖) กัมม : อาม มหาราช (สา) ภิกขุนญฺจ เม อนุกุโกสิกา กตา โลกุตตรกุฏมพสามินี จ ฯ จ (๔/๔๒) ๓๒. บทอนภิหิตกัตตา (อัน) ที่สัมพันธ์เข้ากับ ๓ ปัจจัย กัมม วาจก นิยมเรียงเป็นรูปฉัฏฐีวิภัตติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More