การวิเคราะห์ประโยคในมงคลทีปนี คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 285
หน้าที่ 285 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายการวิเคราะห์รูปประโยคในมงคลทีปนี โดยเน้นที่รูปวิเคราะห์พิเศษและการทำความเข้าใจเจตนาที่เกี่ยวข้อง ไม่เพียงแต่การใช้คำโดยตรง เรายังได้มีการพูดถึงตัวอย่างการใช้คำในบริบทที่ถูกต้อง ตามหลักการอธิบายก่อนหน้านี้ เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง รวมถึงการพิจารณาเจตนาหรือรูปลักษณ์ของศาสนาคารในบริบทที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นข้อมูลที่สำคัญในด้านการศึกษาธรรมะและการปฏิบัติ เพื่อให้ผู้อ่านสองรู้ อาจมองเห็นวิธีการที่จำเป็นในการศึกษาและเข้าใจความหมายที่ลึกซึ้งในพระธรรมคำสอนผ่านรูปแบบนี้.

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ประโยค
-หลักการกรณสาธนะ
-ความหมายของมุสาวาท
-ความสำคัญของรูปวิเคราะห์ในมงคลทีปนี
-เจตนาและการใช้คำในพระธรรมคำสอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การเรียงประโยคอธิบายความ ๒๖๙ : สตฺตานํ มงฺคนฺติ อิเมหิติ มงคลาน ๆ ไม่ถูก เพราะรูปวิเคราะห์นี้ เป็น กรณสาธนะ (อิเมหิ) ดูจากสำนวนไทยว่า เป็นเหตุ บทประธานในรูปวิเคราะห์ต้องแปลว่า “แห่ง” ในรูปสำเร็จ ตัวอย่างที่ ๒ ความไทย : เจตนาอันยังวิญญัติเหล่านี้ให้ตั้งขึ้น ชื่อว่ามุสาวาท เพราะทำวิเคราะห์ว่า “เป็นเครื่องอันเขา” กล่าว เป็น ชี้แจง : คือ พูดค่าเท็จ ฯ : ตถาวิญญาติสมุฏฐาปิกา เจตนา มุสาวาโท มุสา วาทิยติ วุจฺจติ เอตายาติ กตฺวา ฯ (มงคล ๑/๒๑๕) รูปวิเคราะห์นี้เป็นรูปวิเคราะห์พิเศษ มีเฉพาะใน มงคลทีปนี วินยกถา เป็นส่วนใหญ่ คือ วางรูป วิเคราะห์ไว้ท้ายรูปสำเร็จ ถึงกระนั้นก็ตาม ยัง ต้องวางรูปแบบให้ถูกต้องรูปวิเคราะห์ทั่วไป และรูป วิเคราะห์นี้เป็นกรณสาธนะ กัมมวาจก จึงแปลว่า “เป็นเครื่องอันเขา” บทประธานในรูปสําเร็จ แปล ว่า “ซึ่ง” การวางรูปศัพท์ ท่านวางศัพท์ในรูปสำเร็จ ทุกคำไว้ในรูปวิเคราะห์ - มุสา + วาทิยติ = มุสาวาโท ถ้าแต่งเป็นอย่างอื่น เช่น - มุสา กถียติ วาทิยติ เอตาย หรือ มุสา วุจฺจติ กถียติ เอตาย รูปสําเร็จจะเป็น มุสาวาโท ไม่ได้ จะต้องเป็น มุสากถา และ มุสาวาจา ตามลำดับ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More