คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 166
หน้าที่ 166 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้นำเสนอหลักการตั้งคำถามและการตอบในภาษามคธอย่างละเอียด เช่น การใช้กิริยาในประโยคคำถามและการตอบ การไม่ใส่คำถามในประโยคคำตอบโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการฟังอรรถกถาที่เกี่ยวข้องกับพระธรรม และวิธีการถามที่สอดคล้องภายใต้เนื้อหาเชิงศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การตั้งคำถามในมคธ
-การตอบคำถามในมคธ
-หลักการแปลไทยเป็นมคธ
-การใช้กิริยาในประโยคคำถาม
-การฟังธรรมและคำตอบ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๕๐ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ : กุฏมพิโก เต สญฺชานิตวา นิสีทาเปตวา กตปฏิสนถาโร “ภาติกาเถโร เม กุหินฺติ ปุจฉฯ (๑/๑๓) : นางยักษ์มาด้วยเพศหญิงสหายของนาง ถามว่า เพื่อน หญิงของฉันอยู่ไหน : ยกขินี ตสฺสา ปิยสหายิกาวณเณน อาคนฺตฺวา กุห เม สหายิกาติ ปุจฺฉิ ฯ (๑/๔๕) : ตอบว่า เพื่อนของข้าพเจ้ามีอยู่คนหนึ่ง ๆ ถามว่าเขาอยู่ ไหน ๆ : อตฺถิ เม เอโก สหายโกติ ฯ กุรี โสติ ฯ (๒/๒) ถ้าถามถึงสิ่งที่เห็นตัวตนอยู่ ต้องใส่กิริยาด้วย : มหาชนนี้จะไปไหนกัน : อย์ มหาชโน กุรี คจฺฉตีติ ฯ (๑/๕) : ก็ท่านขอรับ พระคุณเจ้าจักไปไหน : อยโย ปน ภนฺเต กุห์ คมิสสตีติ ฯ เช่น (๓) ประโยคคำาถามในท้องเรื่อง ซึ่งผู้พูดหรือผู้เขียนเป็นผู้ถาม เอง และตอบเอง อย่างนี้ในประโยคคำถามนิยมใส่ อิติ กำกับท้าย ประโยค ประโยคคำตอบไม่ต้องใส่ เช่น : อย์ ธมฺมเทสนา กตฺถ ภาสิตาติ ฯ สาวตถิย์ ฯ ก อารพภาติ ฯ จกฺขุปาลเถร ฯ (๑/๓) (๔) ประโยคตอบคำถามไม่นิยมลอกคำถาม คือไม่ต้องใส่คำถาม เข้ามาในประโยคตอบ ให้ละไว้ในฐานที่เข้าใจ ให้เรียงเฉพาะคำตอบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More