คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 142
หน้าที่ 142 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือเล่มนี้มุ่งเน้นการสอนการใช้กัมมวาจก ซึ่งเป็นศัพท์ที่ใช้ในกรณีที่ต้องการเน้นสิ่งที่ถูกทำของประโยค โดยมีการยกตัวอย่างประโยคต่างๆ ที่ช่วยอธิบายแนวคิดนี้ให้เข้าใจง่ายขึ้น เช่น การเน้นเทศนาหรือสิ่งที่ถูกแสดง โดยมีบริบทและหลักการการใช้ที่ชัดเจน รวมถึงตัวอย่างที่แสดงให้เห็นวิธีการประยุกต์ใช้ในเชิงภาษาศาสตร์และการสื่อสารในวรรณกรรมมคธ. สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแปลและพลศาสตร์ของภาษาไทย-มคธ สามารถศึกษาในเนื้อหานี้ได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-กัมมวาจก
-การศึกษาแปลไทยเป็นมคธ
-การสื่อสารในภาษาไทย
-วรรณกรรมมคธ
-การศึกษาเชิงภาษาศาสตร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๒๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ : ภควา เอตทโวจ ฯ เน้นผู้กล่าว ๒. กัมมวาจก (ศัพท์กล่าวกรรม สิ่งที่ถูกกระทำ) ใช้ในกรณีที่ข้อความในประโยคนั้น ต้องการเน้นสิ่งที่ถูกทํา (กมุม) ยกสิ่งที่ถูกทำขึ้นเป็นตัวประธานในประโยค ส่วนผู้ทำ ให้เด่นชัดขึ้น (กฤต) ถือเป็นศัพท์รอง บางประโยคถึงกับไม่จําเป็นต้องใส่ตัวกัตตา เข้ามาในประโยค ประโยคกัมมวาจกนี้ ส่วนมากใช้ในข้อความที่ผู้พูด ผู้เขียนมุ่ง เน้นว่าสิ่งที่ถูกทำนั้นสำคัญที่สุด จึงเน้นไว้เป็นประธาน ส่วนมากจะใช้ ในประโยคเลขในและใช้กิริยากิตก์คุมพากย์ จำง่ายๆ ว่า “ประโยคใดเน้นที่สิ่งที่ถูกทำ ประโยคนั้นเป็น กัมมวาจก” ตัวอย่างเช่น ๑) ตาต มยา สตฺถุ ธมฺมเทสนา สุดา ฯ ต้องการเน้นเทศนามากกว่า ผู้ฟัง (มยา) (๑/๒) ๒) สตฺถารา หิ สณหสุขุม ติลักขณ์ อาโรเปตวา อาทิมชุฌปริโยสานกลยาณธมฺโม เทสิโต ฯ ต้องการเน้นสิ่งที่ถูกแสดง (ธรรม) มากกว่าผู้แสดง (สตถารา) (๑/๖) ๓) อิทาเนเวโก คีตสทฺโท สูยิตฺถ ฯ ต้องการเน้นสิ่งที่ถูกได้ยินมากกว่าผู้ได้ยิน ถึงกับไม่ใส่เข้า มาในประโยค (๑/๑๕) ทั้งสามประโยคนี้ หากเรียงเสียใหม่ว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More