การใช้ศัพท์ในประโยค คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 365
หน้าที่ 365 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เสนอหลักการในการใช้ศัพท์ในประโยค โดยเน้นถึงความสำคัญของการใช้ศัพท์ให้สอดคล้องกันในประโยคหน้าและหลัง เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสน ตัวอย่างที่ไม่ถูกต้องถูกยกมาเพื่อนำเสนอวิธีการที่ถูกต้องในการเรียงลำดับคำและการใช้ศัพท์ในประโยคต่างๆ การปฏิบัติตามหลักการเหล่านี้ช่วยให้การสื่อสารมีความชัดเจนและเข้าใจง่าย นอกจากนี้ยังมีการยกตัวอย่างเพื่อแสดงความแตกต่างระหว่างการใช้ศัพท์ที่ถูกต้องและการใช้ที่ก่อให้เกิดความสับสน

หัวข้อประเด็น

- หลักการใช้ศัพท์ในประโยค
- การเว้นวรรคในประโยค
- ความสำคัญของความสอดคล้องในศัพท์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เบ็ดเตล็ด ๓๔๙ ๓๓. อาลปนะทุกศัพท์ ไม่นับเป็นประโยค คือ เมื่ออยู่ต้นประโยค จะเรียงนิบาต พวก หิ จ ปน ไว้ถัดมา โดยถือว่ามีอาลปนะนำ หน้าแล้วไม่ได้ ๓๔. การใช้ศัพท์ ต้องให้เสมอกันทั้งประโยคหน้า ประโยคหลัง หรือในประโยคเดียวกัน แต่ข้อความควบด้วย จ ศัพท์ เช่น ใช้ อนุต ก็ อนุต เหมือนกัน ใช้ มาน ก็ มาน เหมือนกัน ใช้ น ปฏิเสธ ก็ น เหมือนกัน ไม่ใช้สับสนกัน เป็น อนุต บ้าง มาน บ้าง น บ้าง อ บ้าง เช่น ไม่ใช่ - อนุรุทเธน ปน เนว วีที โกฏเป็นตา น ภัตต ปเจนตา วา วฑโฒนตา วา ทิฏฐิพพา ฯ (๑/๑๒๗) - อนุรุทเธน ปน เนว วีที โกฏเป็นตา น ภัตต ปัจมานา วา วฑโฒนตา วา ทิฏฐปุพฺพา ฯ หรือ : อุฏฺฐาย ไม่ใช่ : เต ปัจจุคคมน์ กตนฺติ ฯ น กต์ ภนฺเตติ ฯ (๑/๓๖) อุฏฐาย เต ปัจจุคคมน์ กตนฺติ ฯ อกต์ ภนฺเตติ ฯ (หรือ นกโรมิ ภนฺเตติ ฯ)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More