คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 126
หน้าที่ 126 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้จัดทำขึ้นเพื่อช่วยนักศึกษาเข้าใจในเนื้อหาของการแปลจากภาษาไทยเป็นมคธ โดยมีการอธิบายหลักการและยกตัวอย่างที่ดำเนินไปภายใต้บริบทในพุทธศาสนา รวมถึงการปฏิบัติตนของผู้มีวัตรที่ดีตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาเพิ่มพูนความรู้และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมในทุกยุคสมัย โดยเนื้อหาประกอบไปด้วยคำอธิบายเจตคติและคู่มือที่ชัดเจนเพื่อการศึกษา ในการเข้าถึงธรรมะและการปฏิบัติให้เหมาะสมในชีวิตประจำวัน

หัวข้อประเด็น

-บทนำ
-หลักการแปล
-การดำเนินการตามธรรมะ
-ตัวอย่างการสอน
-การปฏิบัติตน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๑O คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ : ตาม สมเย สตฺถา ฯเปฯ เชตวันมหาวิหาเร วิหรติ มหาชน สคคมคเค จ โมกฺขมคฺเค จ ปติฏฺฐาปยมาโน ฯ (๑/๔) (แสดงว่า ขณะพระบรมศาสดาประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร นั้นพระองค์ทรงยังมหาชนให้ดำรงอยู่ในทางสวรรค์ และทางพระนิพพาน ตลอดเวลา) : อนุนปานเภสัชเชส โย ย์ อิจฺฉติ, ตสฺส ต์ ยกิจฉิตเมว สมฺปชฺชติ ฯ (๑/๔) (แสดงว่า สมัยนั้นท่านรูปใดปรารถนาอะไร ก็จะได้สำเร็จ อย่างปรารถนาเป็นนิจ) ทุกสมัย) : พุทธา จ นาม ธมฺม์ เทเสนฺตา สรณสีลปพฺพชฺชาทีนํ อุปนิสสย์ โอโลเกตวา อชฌาสยวเสน ธมฺม เทเสนฺติ ฯ (๑/๕) (แสดงว่า พระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ ทรงทำอย่างนี้มาทุกยุค : วตฺตสมปนนา หิ ครูว์ อาสโนวา สยเน วา อตฺตโน ปริกฺขาร์ น สเปนฺติ ฯ (๑/๕๖) (แสดงว่า การกระทำเช่นนี้เป็นปกติวิสัยของผู้สมบูรณ์ด้วย วัตรทุกๆ คน) แสดงตัวอย่างมาเพื่อเทียบเคียงหลักการดังกล่าว ขอให้นักศึกษา สังเกตดูวิธีที่ท่านใช้ต่อไปเถิด ก็จะเกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More