สำนวนสอบภูมิ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 183
หน้าที่ 183 / 374

สรุปเนื้อหา

สำนวนสอบภูมิ หมายถึง สำนวนที่สนามหลวงออกสอบภูมิรู้พื้นฐานของผู้สอบ โดยจะแปลสำนวนไทยยักเยื้องไปในรูปแบบต่างๆ เพื่อทดสอบความรู้ด้านธรรม ด้านไวยากรณ์ และการแปลศัพท์ รวมถึงการตีความตามพยัญชนะและความสัมพันธ์.

หัวข้อประเด็น

-สำนวนสอบภูมิ
-การทดสอบความรู้
-การแปลศัพท์
-ไวยากรณ์ไทย
-ธรรมชาติของภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สำนวนนิยม ๑๖๗ ต่ากว่า โอรโต น้อยกว่า โอเรน รวมเป็นอันเดียวกัน เอกชฺฌ์ รวมกัน ด้วยกัน เอกโต ต่อไป อายตี ห่างไกล ห่างเหิน อารกา, อารา อย่างแน่นอน แน่แท้ อวสฺส์ เสมอๆ เนืองๆ บางครั้งบางคราว อภิกฺขณ์, อภิณห์ อปเปกทา (คาดว่า) ไฉนหนอ, บางที อปเปว, อปเปว นาม บ้างไหม อปิ ในระหว่าง อนุตรา, อนฺตเร โดยที่สุด อนฺตมโส แน่แท้ เป็นแน่ อทฺธา โดยแท้ อญฺญทตฺถุ สํานวนสอบภูมิ สํานวนสอบภูมิ หมายถึง สำนวนที่สนามหลวงออกสอบภูมิรู้พื้น ฐานของผู้สอบ โดยจะแปลสำนวนไทยยักเยื้องไปในรูปแบบต่างๆ เพื่อทดสอบความรู้ด้านธรรมบ้าง ด้านไวยากรณ์บ้าง ด้านการแปล ศัพท์บ้าง ส่วนมากก็จะเป็นการแปลออกศัพท์ ตามแบบแปลโดย พยัญชนะ หรือแปลตามแบบสัมพันธ์ ซึ่งการแปลอย่างนี้ บางครั้งก็
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More