กฎเกณฑ์การเรียงประโยค คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 65
หน้าที่ 65 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับกฎเกณฑ์การเรียงประโยคในภาษาไทย โดยเฉพาะการเรียงกิริยา อธิบายถึง 2 ประเภทของกิริยา ได้แก่ อนุกิริยาและมุขยกิริยา พร้อมตัวอย่างการเรียงประโยคที่แตกต่างกัน ทั้งในแบบประธานและการใช้กิริยา การเรียนรู้ในหัวข้อนี้ช่วยให้เข้าใจการสร้างประโยคที่ถูกต้องในภาษาไทย และการใช้กิริยาในประโยคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในกรณีที่มีหลักการเฉพาะที่แตกต่างออกไปจากกฎพื้พื้นฐาน ควรยึดหลักที่อธิบายไว้เป็นสำคัญ.

หัวข้อประเด็น

- กฎการเรียงประโยค
- กิริยาในภาษาไทย
- อนุกิริยา
- มุขยกิริยา
- ตัวอย่างการเรียงประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กฎเกณฑ์การเรียงประโยค ๔๙ วิธีเรียงวิกติกตฺตาดังกล่าวมานี้ เป็นแบบหลักทั่วไป แต่ในปกรณ์ แบบเรียนอาจมีนอกเหนือจากกฎนี้บ้าง ถ้าจำไม่ได้ ก็ขอให้ยึดวิธีที่ว่านี้ เข้าไว้ก่อน เป็นไม่ผิดแบบที่ว่านั้น เช่น : สาวตถิย์ กร มหาสุวณฺโณ นาม กุฎมพิโก อโหสิ อฑฺโฒ มหนฺธโน มหาโภโค อปุตฺตโก ฯ (๑/๓) จะเรียงว่า : สาวตถิย์ กิร มหาสุวณฺโณ นาม กุฎมพิโก อฑฺโฒ อโหสิ มหนฺธโน ฯเปฯ ดังนี้ก็ได้ : ตสเสกปุตตโก อโหสิ ปิโย มนาโป ฯ (๑/๒๓) จะเรียงว่า : ตสฺเสกปุตฺตโก ปิโย อโหสิ มนาโป ๆ ดังนี้ก็ได้ วิธีเรียงกิริยา ดังกล่าวมาแล้วในบทก่อนว่า กิริยาถือว่าเป็นส่วนสำคัญของ ประโยคคู่กับประธาน และกิริยานั้นมีอยู่ ๒ อย่าง คือ ๑. อนุกิริยา หมายถึงกิริยาที่แทรกอยู่ในระหว่างประโยค ได้แก่ กิริยาที่ประกอบด้วย ต อนุต มาน และ ตูนาที ปัจจัย ๒. มุขยกิริยา หมายถึงกิริยาใหญ่ที่ทำหน้าที่คุมประโยค ได้แก่ กิริยาอาขยาตทั้งหมด และกิริยากิตก์ที่ประกอบด้วย ตอนีย ตพุพ ปัจจัย ในกิริยา ๒ ประเภทนี้ มีหลักการเรียง ดังนี้ วิธีเรียงอนุกิริยา ๑. เรียงไว้หลังประธาน ในประโยคธรรมดา โดยเรียงเป็นลำดับ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More