คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 220
หน้าที่ 220 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้เน้นการแปลจากภาษาไทยเป็นมคธ และการใช้ศัพท์อย่างถูกต้อง โดยแต่ละศัพท์มีความหมายเฉพาะตัวที่ควรศึกษาอย่างรอบคอบ เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการแปล การใช้ศัพท์ต้องคำนึงถึงบริบทที่เหมาะสม ซึ่งท้ายบทจะมีการแสดงตัวอย่างศัพท์ต่างๆ พร้อมความหมายของแต่ละคำ เช่น เฉโก กุสโล และอื่นๆ โดยยกตัวอย่างการใช้งานในกรณีต่างๆ เพื่อให้เข้าใจได้ดียิ่งขึ้น ศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-ศึกษาศัพท์และความหมาย
-เทคนิคการแปลที่ถูกต้อง
-การใช้ศัพท์ในบริบทต่างๆ
-ความชำนาญในการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๐๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ประโยคเดิม : เอวรูป์ หิ สหายก ลภนฺเตน เอกโต วสิต ยุตต์ ฯ แปลงว่า : เอวรูป์ หิ สหายก ลภนฺเตน เอกโต วสนภาโว ยุตต์ ฯ อย่างนี้ถือว่าแปลงแล้วผิด คือผิดทั้ง ลภนฺเตน และ ยุตต์ เพราะผิดสัมพันธ์ทั้งคู่ จึงต้องใช้ความชำนาญ และความรู้เป็นพิเศษ จึงจะทําเรื่องนี้ได้ดี ความหมายของศัพท์ ดังกล่าวมาบ้างแล้วว่า ศัพท์แต่ละศัพท์นั้นมีความหมายในตัว ซึ่งไม่เหมือนกัน และวิธีใช้ก็ใช้ต่างกรณีกัน ดังนั้น จึงควรจะได้ศึกษา ความหมายของศัพท์ไว้บ้าง เพื่อจะได้นำศัพท์ไปใช้ได้ถูกเรื่อง ถูกความ ที่ประสงค์ ในตอนสุดท้ายของบทนี้ จึงจักแสดงศัพท์ต่างๆ พร้อมทั้ง ความหมายให้ดูพอเป็นอุทาหรณ์ ซึ่งจะได้แสดงให้เห็นว่าใช้ในกรณีไหน ด้วย ดังนี้ ๑. เฉโก กุสโล โกวิโท ปณฺฑิโต ๒. วินา ฐเปตวา ฉลาดในการทำความผิด ทำชั่ว การหากิน ตามปกติธรรมดาโลก ฉลาดในการตัดความชั่ว ฉลาดในการประพฤติธรรม ในการทำความดี ฉลาดในการทําด้วยปัญญา เว้นอย่างสูง เว้นพลัดพราก คือ ขาดเสียมิได้ เช่น ผัวเว้นเมีย เว้นพระพุทธเจ้า เป็นต้น เว้นไว้ส่วนหนึ่งจากหลายๆ ส่วน โดยเอาไว้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More