คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 122
หน้าที่ 122 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้เน้นการใช้วิภัตติอย่างถูกต้อง พร้อมกับตัวอย่างที่แสดงถึงความผิดพลาดในการแปล สอนให้ผู้เรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประธานและกิริยา พร้อมคำแนะนำในการเลือกใช้วิภัตติในบริบทที่เหมาะสม รวมถึงข้อสังเกตในการแปลข้อความบังคับตามรูปแบบที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันความสับสนในการแปลและการใช้ภาษาอย่างมีประสิทธิภาพโดยมุ่งเน้นที่การใช้พระสูตรนิทานที่ชัดเจน

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-การใช้วิภัตติอย่างถูกต้อง
-ข้อผิดพลาดในการแปล
-วิธีการเลือกใช้วิภัตติ
-การแปลข้อความบังคับ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๐๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ เช่น ข้อความเป็นความบังคับ แต่ปรุงศัพท์เป็นวัตตมานาวิภัตติ หรือ เป็นความล่วงแล้ว ปรุงศัพท์เป็นภวิสสันติวิภัตติ เป็นต้น เช่นนี้ย่อม ทำให้ผิดความ หรือใช้วิภัตติผิดบุรุษกันกับประธาน เช่น ประธานเป็น มัธยมบุรุษ แต่กิริยาเป็นประถมบุรุษ เช่นนี้ชื่อว่า ผิดสัมพันธ์ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ ผิดความ : มนุษย์ผู้ฉลาดทราบว่า พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย กำลังหา เสนาสนะจำพรรษา แต่งเป็น : ปณฺฑิตมนุสสา “วสุสาวาส เสนาสน์ ปริเยสีส ภานุชาติ ญาวา ฯเปฯ - ขอท่านอย่าทำอย่างนี้ เพราะกรรมนี้หยาบช้า แต่งเป็น : มา เอวํ กโรส, ลามก หิ อิท กมุม ฯ ผิดสัมพันธ์ : ทุกสิ่งเป็นภาระของเจ้า เจ้าจงดูแลมันไว้ แต่งเป็น : สพฺพนต์ ตว ภาโร, ปฏิปชชตุ นนฺติ : ฉันจักบวชในสำนักพระศาสดา แต่งเป็น : อห์ สตฺถิ สนฺติเก ปพฺพชิสฺสตีติ ฯ จึงพอสรุปข้อสังเกตในเรื่องวิภัตติอาขยาตได้ ดังนี้ (๑) ถ้าเป็นความบังคับ “จง” ความหวัง “เถิด, ขอ...เถิด” หรือ ความอ้อนวอน “ขอ...จง” ให้ใช้ปัญจมีวิภัตติ เช่น : เอวํ วเทหิ ฯ : สพฺเพ สัตตา อเวรา โหนตุ ฯ : ปพพาเชถ นํ ภนฺเต อนุกมป์ อุปาทาย ๆ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More