ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑๑๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
ว่า อาบน้ำเสร็จแล้ว เดินมาเสร็จแล้ว จึงเห็นต้นไม้ในระหว่างทาง
ซึ่งก็ผิดหลักความจริงว่า ก็มาแล้ว จะเห็นต้นไม้กลางทางได้อย่างไรกัน
จะต้องเห็นในขณะที่มาจึงจะถูก
ขอให้ดูประโยคต่อไปนี้เปรียบเทียบ
:
ราชา ปเสนทิโกสโล ธมม์ สุนนฺโต ต์ สทท สุตวา
“ปุจฉา น, กี กิร เตน ชิตนฺติ” อาห์ ฯ
(หมายความว่า ขณะทรงฟังธรรมอยู่ ก็ได้ทรงสดับเสียงนั้น
สดับแล้ว จึงตรัสถาม ถ้าเรียงเป็นว่า ฯเปฯ ธมฺม สุณิตวา ต์ สทท
สุตวา ฯเปฯ ก็จะได้ความหมายใหม่ว่า ทรงฟังธรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว
จึงได้ทรงสดับเสียงนั้น
จริงของเรื่อง)
ซึ่งก็ผิดไปจากความประสงค์ และความเป็น
: ราชา อตฺตโน กายกมมาที่นิ โอโลเกนฺโต กิญจิ อยุตต์
อทิสวา ก็ นุ โข การณนฺติ จินฺเตตวา ปพฺพชิตาน
วิวาเทน ภวิต พนฺติ ปริสงฺกมาโน กาจิ อิมสฺม
นคเร ปพฺพชิตา อตฺถิติ ปุจฉ ๆ (๑/๓๙)
(พระราชาทรงตรวจกายกรรมของพระองค์ แต่ไม่ทรงพบว่าทรง
มีความเสียหายใด ทรงดำริต่อไป กระทั่งทรงระแวงขึ้นมา เลยตรัส
ถาม)
+
(๒) อนุต มาน ปัจจัย มาคู่กับกิริยาคุมพากย์ (อนุต, มาน
กิริยาคุมพากย์)
เมื่อประธานของประโยคทำกิริยาอาการพร้อมๆ กัน ๒ อย่าง