หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ ๒๔๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 305
หน้าที่ 305 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับหลักการแต่งภาษาไทยในมคธ ป.ธ.๙ อธิบายถึงสังกรประโยคและแนวทางการแยกประโยคเพื่อเข้าใจได้ง่าย โดยใช้ตัวอย่างที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย นอกจากนี้ยังมีการอธิบายความสำคัญของประโยคต่างๆ ในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงลักษณะของการแต่งประโยคไทยในเชิงภาษาศาสตร์อย่างถูกต้อง และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน.

หัวข้อประเด็น

-หลักการแต่งไทย
-สังกรประโยค
-อเนกรรถประโยค
-การสื่อสาร
-ศีลในพระภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ ๒๔๙ ฟังดูตัวอย่าง ดังนี้ ไทย : ท่านเป็นพระภิกษุที่มีศีล ผู้คนจึงเคารพท่านมาก โส เถโร เปลลภาเวน พหูห์ ชเนหิ ครุกโต โหติ มานิโต ฯ เอกรรถ. สังกร. ไทย เอกรรถ. สังกร. : : : ยสฺมา โส เถโร เปสโล โหติ, ตสฺมา พหูห์ ชเน ครุกโต โหติ มานิโต ฯ : เพราะที่นั้นได้ลักษณะของสีมาถูกต้อง จึงเรียกว่า สีมาได้ ต ฐาน สีมาลักขณสมฺปนฺนตฺตา สีมาติ วุจจติ ฯ : ยสฺมา ต์ ฐาน สีมาลักขณสมฺปนฺนํ โหติ, ตสมา สีมาติ วุจฺจติ ฯ ๓. สังกรประโยค สังกรประโยค คือ ประโยคใหญ่ที่มีประโยคเล็กตั้งแต่ ๒ ประโยค ขึ้นไปรวมกัน แต่มีประโยคที่เป็นหลักเป็นประธาน ซึ่งมีใจความสําคัญ ประโยคเดียว นอกจากนั้นเป็นประโยคเล็กทำหน้าที่ประกอบ หรือขยาย ประโยคหลักนั้น สังกรประโยคกับอเนกรรถประโยค แม้จะเกิดจากการประกอบ ประโยคเล็กตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปเหมือนกันก็จริง แต่ก็มีความต่าง กัน คือประโยคเล็กในสังกรประโยคมีใจความสำคัญเพียงประโยคหน้า ประโยคเดียว ประโยคหลังเป็นประโยคขยายความ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More