ข้อความต้นฉบับในหน้า
นั้นๆ เช่น
สำนวนนิยม ๑๕๙
เช้าจัด เช้านัก : กินนุโข มหาราช อภิปุปเคว อาคโตสิ ฯ
เย็นจัด เย็นนัก : อิทานิ อติสายญโห, เมโม จ อุฏฺฐิโต,
ปาโต อาคนฺตวา ปสฺสิสฺสาม ฯ
เร็วจัด เร็วนัก : อติชิปป์ ภควา ปรินิพพุโต, อติลิปป์ สุคโต
ปรินิพฺพโต ๆ
ชั่วจัด ชั่วนัก : อิทานิ ตว์ อภิปาโป ชาโตสิ ฯ
เย็นจัด ร้อนจัด : สา ตโต ปฏฐาย ยาคุ ททมานา อาจิณห์
วา อติสีตล์ วา อติโล) วา อโลน์ วา
เทติ ฯ
(๒) สำนวนไทยว่า จนถึง จนกระทั่งถึง ตราบเท่า จนกว่า
ใช้ ยาว ศัพท์ วางไว้หน้า ตามด้วยศัพท์ปัญจมีวิภัตติ ซึ่งลงท้ายด้วย
อา เช่น
ยาว อกนิฏฐภวนา ปน เอกนินนาท โกลาหล อโหสิ ฯ
ยาวชฺชตนา อญฺญตร์ รมณีย์ ฐาน ทิสวา สุธมฺมา
เทวสภาติ วทนฺติ ฯ
ต โว อห์ ทสฺสามิ, ยาว มีมาคมนา อิเธอ ติฏฐา ฯ
โสปิ ยาว สตฺถุ นิกขมนา ตตฺเถว จัตวา ฯเปฯ
(๓) สํานวนไทยว่า ตั้งแต่...จนถึง ตั้งแต่...จนกระทั่งถึง
ใช้ ปฏฐาย คู่กับ ยาว หรือ อาทิ กตฺวา คู่กับ ยาว
ประโยค ดังนี้
มีหลักการวาง