ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑OO คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
หรือ : อนาถปิณฑิกเสฏฐีปิ ฯเปฯ “ทหรสามเณรา มยุห์ หตุถ
โอโลเกสสนตีติ ฯเปฯ
คำที่ใช้ตัวเน้นใน ๒ ประโยคนี้ ผิดวจนะทั้งคู่
ประโยคแรก หตุถ์ จะเป็น เอก. ไม่ได้ เพราะผิดความจริงและ
ค้านกับศัพท์ว่า โน ซึ่งเป็น พหุ คือ คนหลายคน (โน) จะมีมือเพียงมือ
เดียว (หตุถ์) ไม่ได้
ประโยคที่ ๒ ผิด เพราะผิดความนิยม คือ ในเลขนอก ประธาน
คิดกันหลายคน เป็น พหุ. แต่ในเลขในเป็นเอก. (มยุห์) ซึ่งแสดงว่าคิด
คนเดียว และ หตุ ก็ผิดความจริงอีก ในแง่ที่ว่าพระหนุ่มเณรน้อย
ตั้งหลายรูป จะมองดูคนตั้งหลายคนเห็นเพียงมือข้างเดียวไม่ได้
ในประโยคอื่นพึงเทียบเคียงประโยคข้างต้น เช่น
: บัดนี้ แม้มือของเราก็กระดิกกระเดี้ยไม่ได้
: อิทานิ เม หตฺโถปิ อวิเธโย ฯ (ผิด)
ๆ
: พวกมนุษย์เห็นเหล่าภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยวัตร มีจิตเลื่อม
ใส จึงปูลาดอาสนะแล้วนิมนต์ให้นั่ง
- มนุสสา วตฺตสมปนโน ภิกขู ทิสวา ปสนฺนจิตตา
อาสน์ ปญฺญาเปตวา นิสีทาเปส์ ฯ (ผิด)
การใช้วจนะจึงพอสรุปได้ดังนี้
(๑) ศัพท์ที่นิยมใช้เป็น เอก. อย่างเดียว ก็ต้องใช้ในรูป เอก. เท่านั้น
ห้ามใช้ในรูป พหุ. เพราะผิดความนิยม คือ ศัพท์นามที่นับจำนวนไม่ได้