คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 270
หน้าที่ 270 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ประกอบด้วยทฤษฎีการแปลจากไทยเป็นมคธในระดับ ป.ธ. ๔-๙ เนื้อหาพูดถึงเรื่องต่างๆ เช่น อัปปนาโกศลและการทำวัตถุให้เรียบร้อย รวมถึงคำศัพท์ต่างๆ ที่ใช้ในสำนวน เพื่อช่วยในการศึกษาและการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและการทำงานของนักเรียนและผู้สนใจ เนื้อหามีการอ้างอิงถึงคำศัพท์ที่สำคัญและตัวอย่างในการใช้งาน โดยเน้นความเข้าใจที่ง่ายและโครงสร้างประโยคไม่ยุ่งยากนัก

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-หลักการของอัปปนา
-วัตถุที่ใช้ในสำนวน
-การจัดเรียงประโยค
-การทำให้วัตถุเรียบร้อย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๕๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ เป็น หรอ ไม่ใช่ : ตตฺถ ปฏิปทาวิสุทธิ์ นาม สสมภาริโก อุปจาโร, อุเปกขา พรูหนา นาม อปปนา, สมุป สนา นาม ปญฺจเวกขณา ฯ (วิสุทธิ์ ๑/๑๘๙) : ตตฺถ สสมภาริโก อุปจาโร ปฏิปทาวิสุทธิ์ นาม อปปนา อุเปกขานพรหนา นาม, ปัจจเวกขณา สมุปห์สนา นาม ฯ : ตตฺถ ปฏิปทาวิสุทธิ์ สสมภาริโก อุปจาโร, อุเปกขานพรูหนา อปปนา ฯเปฯ (ไม่นิยม) ความไทย : บรรดาอัปปนาโกศล ๑๐ ประการนั้น ที่ชื่อว่าการ เป็น หรือ ไม่นิยม ทำวัตถุให้สละสลวย คือ การทำวัตถุทั้งหลายทั้ง ภายในทั้งภายนอกให้เรียบร้อย ๆ : ตตฺถ วัตถุวิสทกิริยา นาม อรุณฤติกพาหิราน วัตถุนํ วิสทภาวกรณ์ ฯ (วิสุทธิ์ ๑/๑๖๓) - ตตฺถ อชฺฌตฺติกพาหิราน์ วัตถุนํ วิสทภาวกรณ์ วัตถุวิสทกิริยา นาม ๆ : ตตฺถ วตถุวิสทกิริยา อ ตติกพาหิราช วัตถุน วิสทภาวกรณ์ ฯ ยังมีการใช้ นาม ศัพท์ ในสำนวนอื่นอีก ๒-๓ สำนวน ซึ่ง ล้วนแต่กำหนดง่ายและเรียงเข้าประโยคไม่ยากทั้งสิ้น จึงไม่ขออธิบาย ไว้ในที่นี้ เช่นประโยคต่อไปนี้ : อิท อายุกฺขเยน มรณ์ นาม ฯ (วิสุทธิ์ ๒/๑)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More