คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 372
หน้าที่ 372 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้มีเนื้อหาที่สำคัญสำหรับนักเรียนที่เตรียมสอบรอบ ป.ธ.๔-๙ รวมถึงการตรวจทานคำตอบและการส่งใบตอบอย่างถูกต้อง และข้อปฏิบัติตนหลังการสอบ เพื่อเก็บรักษาใจและกำลังใจอย่างมีประสิทธิภาพในการสอบครั้งต่อไป เนื้อหาอธิบายถึงการเขียนหมายเลขบ่งจำนวนกระดาษตอบในที่จัดส่งเพื่อลดปัญหาสูญหาย หรือการตรวจสอบย้อนกลับใบตอบที่ส่งไปแล้ว รวมถึงข้อแนะนำเกี่ยวกับการจัดการอารมณ์หลังสอบเพื่อเพิ่มความมั่นใจในการสอบครั้งถัดไปเพราะความผิดพลาดที่คิดอาจจะเป็นการถูกต้องได้

หัวข้อประเด็น

-การจัดการใบตอบ
-การตรวจสอบคำตอบ
-การส่งใบตอบ
-ข้อปฏิบัติหลังสอบ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๕๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ : คจฺฉนฺตา จ “ทหรสามเณรา โน หตฺเถ โอโลเกสฺสนฺตีติ ตุจฉหตุถา น คตปุพฺพา ฯ ๑๔. เมื่อเขียนคำตอบลงในใบตอบเสร็จแล้ว ให้อ่านตรวจทานอีก ครั้งหนึ่งก่อน แล้วจึงตรวจทานกับภาษาไทยตาม ข้อ๑๐. อีกครั้งหนึ่ง ถ้ามีเวลาพอจะอ่านทานช้าๆ อีกครั้งหนึ่ง ก็ได้ ๑๙. นิยมเขียนหมายเลขบ่งจำนวนกระดาษใบตอบที่ทำส่งไว้ที่ มุมบนด้านขวามือ เพื่อแสดงว่าได้ส่งใบตอบจำนวนกี่แผ่น จะเป็นการ ง่ายต่อการเรียงใบตอบ และหากสูญหายตกหล่นไป ก็จะหาได้ง่ายหรือ ทราบได้ง่าย ๒๐. เมื่อจะส่งใบตอบ ให้เขียนบัตรประจำตัวสอบที่ได้รับแจก ไว้ให้เรียบร้อยก่อน แล้วกลัดติดกับใบตอบ นำไปส่งให้กรรมการ โดย ลงชื่อในใบรับใบตอบนักเรียนก่อน เพื่อแสดงหลักฐานว่าตนได้ส่งใบ ตอบแล้ว ข้อปฏิบัติหลังจากสอบแล้ว เพราะจะ ๑. เมื่อส่งใบตอบแล้ว ให้ออกจากห้องสอบทันที เมื่ออยู่นอก ห้องสอบ หากเปิดแบบดูรู้ว่าตนทําผิดพลาดไป ก็ไม่ควรแสดงอาการ ตกใจ หรือโวยวายออกมาว่าตนทำผิดอย่างนั้นอย่างนี้ ทําให้กําลังใจตก ไม่คิดจะสอบในวันต่อไปอีกหรือวันต่อไป อาจทําไม่ ได้ดีเท่าที่ควร เพราะท้อใจเสียแล้วว่าถึงอย่างไร ตนตกแน่แล้วแต่วัน แรก ข้อนี้ไม่แน่เสมอไป เพราะข้อที่ตนเห็นว่าผิดนั้น อาจเป็นถูกต้อง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More