กฎเกณฑ์การเรียงประโยคในภาษาไทย คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 53
หน้าที่ 53 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้จะกล่าวถึงกฎเกณฑ์การเรียงประโยคในภาษาไทย โดยเริ่มจากการจัดตำแหน่งของคำและบทในประโยค เช่น การเรียงคำเชื่อม อาทิ 'อถ' กับ 'กสมา' และการขยายบทต่างๆ ตามวิภัตติ โดยมีตัวอย่างการเรียงเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจน อีกทั้งมีการอธิบายเกี่ยวกับวิธีเรียงฉัฏฐีวิภัตติระหว่างคำและบทที่สัมพันธ์กัน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

หัวข้อประเด็น

-กฎการเรียงประโยค
-การขยายบท
-การใช้วิภัตติ
-การจัดระเบียบคำในประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กฎเกณฑ์การเรียงประโยค ๓๗ โอโลเกตุวา ฯเปฯ (๑/๕) : ตสฺมา ยถา กณโก ผลาน คณฺหนฺโต ฯลฯ เอว์ โสปิ อตฺตโน ฆ่าตาย ผลติ ฯ (๖/๒๓) ถ้า กสมา มาคู่กับ อถ (ที่แปลว่า...ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น) ให้เรียง อถ ไว้ต้นประโยคหน้า กสฺมา เช่น : อถ กลุ่มา เอวมกาสี ฯ พอสรุปวิธีเรียงบทปัญจมีวิภัตติได้ ดังนี้ ๑) ทำหน้าที่ขยายบทใด ให้เรียงไว้หน้าบทนั้น ๒) มาร่วมกับบททุติยาวิภัตติ เรียงไว้หน้า หรือหลังบททุติยา วิภัตติ ก็ได้ ๓) เรียงไว้หลังนิบาตเหล่านี้ ยาว วินา อญฺญตร และ อารา แต่เรียงไว้หน้านิบาตเหล่านี้ อุทธ์ นานา ปฏฐาย ๔) เรียง ยสฺมา ตสุมา กสุมา ก็การณา ไว้ต้นประโยค แต่ กสุมา ให้เรียงไว้หลัง อถ เป็น อถ กสุมา..... วิธีเรียงฉัฏฐีวิภัตติ บทฉัฏฐีวิภัตติ โดยทั่วไปเป็นบทขยายนาม คือสัมพันธ์เข้ากับ ศัพท์นามดังกล่าวแล้วข้างต้น เพราะฉะนั้น จึงมีวิธีการเรียงไม่ซับซ้อนนัก ทําหน้าที่สัมพันธ์กับบทใด ตอนใด ก็ให้เรียงไว้หน้าชิดกับบทนั้นที่ตน สัมพันธ์เข้าด้วยเลย เช่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More