คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 360
หน้าที่ 360 / 374

สรุปเนื้อหา

ในคู่มือวิชานี้มีการอธิบายเกี่ยวกับการใช้กิริยาและศัพท์ในภาษาไทยและมคธ โดยเฉพาะกิริยาที่มีคำว่า อิติ ศัพท์ การเรียงกิริยาแบบต่างๆ รวมถึงการใช้สรรพนามในวิภัติ และคำอธิบายเกี่ยวกับรูปแบบต่างๆของศัพท์ในภาษา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและนำไปใช้ในการแปลได้อย่างถูกต้อง สามารถเรียนรู้เพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การใช้ศัพท์ในภาษามคธ
-กิริยาและการเรียงประโยค
-สรรพนามในภาษา
-หลักการแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-วิธีการจำรูปศัพท์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๔๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ศัพท์ชนิดเดียวกัน หรือใช้แทนกัน ก็ได้ เช่น สมคฺค-สามคฺคี, ปริหานิ ปริหาน เป็นต้น (ดูเรื่องการใช้ศัพท์ประกอบ) คือ ๑๔. กิริยาที่มี อิติ ศัพท์ (เลขใน) เข้าด้วย มีวิธีเรียง ๒ แบบ ก. ถ้าเป็นกิริยาอาขยาตคุมพากย์ จะเรียงกิริยานั้นไว้หน้า หรือหลัง อิติ ก็ได้ เช่น หน้า : โส จินฺเตสิ “อหมฺปิ คมิสสามีติ ฯ หลัง : โส “ตว์ คจฺฉาที่ติ อาห์ ฯ ข. ถ้าเป็นกิริยา อนุต มาน ตวา ปัจจัย จะเรียงกิริยา นั้นไว้หน้า อิติ ไม่ได้ ต้องเรียงไว้หลังอย่างเดียวเท่านั้น เช่น : โส “อหมฺปิ คมิสสามีติ จินเตตวา อคมาสิ ฯ (ถูก) : โส จินฺเตตวา “อหมปี คมิสสามีติ อคมาสิ ฯ (ผิด) ๑๕. ต สัพพนามที่เป็นทุติยาวิภัตติ จตุตถีวิภัตติ หรือ ฉัฏฐี วิภัตติ ทั้ง เอก และพหุ, ถ้าในประโยคนั้นมี อถ ศัพท์ อยู่ต้นประโยค ให้ประกอบเป็นรูป น เน อสฺส เนส และให้เรียงไว้หลัง อถ นั้น แม้ว่าความจะอยู่ห่างจาก อถ ห่างจากบทที่ตนสัมพันธ์เข้าก็ตาม ให้ จำไว้เป็นแบบเลยว่า อถ นำ.... อถสฺส...... • อถ เน..... อถ เนส์...... ไม่นิยมใช้ว่า อถ ต... อถ เต... อถ อสส..., อถ ตสฺส... อล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More