ข้อความต้นฉบับในหน้า
๒๓๘ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
กรรม ของบทขยายกิริยา ซึ่งออกสำเนียงแปลว่า “ผู้ ที่ ซึ่ง มี อัน”
หรืออย่างอื่น
เมื่อต้องการทําให้เป็นประโยคใหม่ซ้อนเข้ามา มีวิธีทําดังนี้
(๑) เพิ่ม ย เข้ามาในประโยคแรก จะมีรูปเป็นอย่างไรก็แล้ว
แต่ จะสร้างประโยค และแล้วแต่ว่าจะให้ประโยค ย นั้น ขยายบท
อะไรในประโยคหลัง เช่น ถ้าขยายบทประธาน ย ก็เป็นบทประธาน
ในประโยค
(๒) กิริยาในประโยค ย ถ้าบทวิเสสนะเดิมเป็น ต อนุต มาน
ปัจจัย ก็ให้เปลี่ยนเป็นกิริยาอาขยาต หรือ กิริยากิตก์ที่คุมพากย์ได้ โดย
รักษากาลไว้เหมือนเดิม ถ้าเป็นวิเสสนะธรรมดาๆ ก็ทำให้เป็นรูปวิกติ
กัตตา แล้วใส่กิริยา ว่ามี ว่าเป็น มาเป็นกิริยาคุมพากย์
ดูตัวอย่างประกอบ
ตัวอย่างขยายประธาน
: กุลบุตร ผู้ไม่รู้แม้สถานที่เกิดภัตร จักรู้ชื่อซึ่งการงานอะไร
ภตฺตุฏฐานฏฐานปี อชานนโต กุลปุตโต กมมนต์
เดิม
เป็น
นาม ก็ ชานิสสติ ๆ (๑/๑๒๖)
โย ภตฺตุฏฐานฏฐานปี น ชานาติ, โส
กุลปุตโต นาม กี ชานิสฺสติ ฯ
: แม้ภิกษุ ๕๐๐ รูป ผู้อยู่ประจำทิศ ออกพรรษาแล้ว
เข้าไปเฝ้าพระอานนท์ อ้อนวอนว่า...
เดิม ทิสาวาสิโนปิ ปญฺจสตา ภิกขู วุตถวสุสา
=