ไวยากรณ์ภาษาไทย: อนาคามีและวิสามัญวิเสสนะ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 113
หน้าที่ 113 / 374

สรุปเนื้อหา

บทนี้สำรวจเรื่องอนาคามีและการใช้ลิงค์ในภาษาไทย รวมถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับการใช้ศัพท์ที่มีลิงค์หลายแบบ เช่น อคาโร-อคาร์ และการใช้คำเติมท้ายที่เฉพาะ เช่น ก คต รูป ชาต โดยอธิบายว่าไม่สามารถสรุปได้ว่าจะต้องใช้ลิงค์ไหนแน่นอน พร้อมตัวอย่างการใช้ในประโยคต่างๆ นอกจากนี้ยังสัมผัสกับวิสามัญวิเสสนะซึ่งหมายถึงคำวิเศษณ์ที่เป็นอสาธารณนาม โดยไม่ต้องเปลี่ยนลิงค์ตามนามเจ้าของ ตามที่ได้กล่าวมาในบทนี้. ดูเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-ไวยากรณ์ภาษาไทย
-อนาคามี
-การใช้ลิงค์ในศัพท์
-วิสามัญวิเสสนะ
-คุณสมบัติของศัพท์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ์ ๙๗ อนาคามี ประโยคที่ ๔) สุขี ต้องเป็น อนาคามินิโย ต้องเป็น สุขินี นอกจากนี้แล้วยังมีข้อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องการใช้ลิงค์อีก คือ (๑) ศัพท์ใดที่ใช้เป็น ๒ ลิงค์ได้ ให้ถือเอาลิงค์ที่ท่านใช้มากใน ปกรณ์ทั้งหลายเป็นเกณฑ์ เช่น ส่วนโร-สํวจฺฉร์ ท่านใช้ สวจฉร์ มากกว่า อคาโร-อคาร์ ท่านใช้ อคาร์ มากกว่า ทิวโส-ทิวส์ ท่านใช้ ทิวโส มากกว่า เป็นต้น (๒) การใช้ศัพท์เหล่านี้ คือ ก คต รูป ชาต มาต่อท้ายศัพท์ มิได้นิยมใช้กับทุกศัพท์ และกำหนดว่าเป็นลิงค์อะไรแน่นอนไม่ได้ เพียง พอสังเกตได้ว่า : : : ถ้าใช้ ก ต่อท้าย มักเป็นลิงค์ตามศัพท์เดิม เช่น สหายโก ยาน การโก โคปาลโก ถ้าใช้ คต ต่อท้าย มักเป็น 1, เช่น ตรจฉานคโต และ น. เช่น ทิฏฐิคต : ถ้าใช้ รูป ต่อท้าย มักเป็น น. เช่น โครู อิตถีรูป ถ้าใช้ ชาต ต่อท้าย มักเป็น น, เช่น ธมุมชาติ สททชาติ (๓) วิสามัญวิเสสนะ คือ ศัพท์วิเสสนะที่เป็นอสาธารณนาม เดิม เป็นลิงค์อะไร ให้คงลิงค์ไว้ไม่ต้องเปลี่ยนไปตามนามเจ้าของ มีคติ คล้ายกับวิกติกัตตานาม ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น เช่น : สตถิร อนุปิย์ นาม มลุลาน นิคโม ต์ นิสสาย...... (๑/๑๒๔)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More