การใช้ไวยากรณ์และสัมพันธ์ในภาษาไทย คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 117
หน้าที่ 117 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการใช้ไวยากรณ์และความสัมพันธ์ในภาษาไทย โดยเน้นการใช้รูปเอกและพหุในการแสดงจำนวนและประเภทของคำต่างๆ เช่น อาหาร, คน, บริษัท และความดี บทความยังเน้นถึงความถูกต้องในการใช้คำเสริมและการจัดเรียงประโยคที่ถูกต้อง เพื่อให้นักศึกษาใช้ภาษาได้อย่างแม่นยำ โดยเฉพาะในกรณีที่มีบทวิเสสนะและบทกิริยา

หัวข้อประเด็น

-การใช้รูปเอกและพหุ
-การวิเสสนะในประโยค
-การจัดเรียงประโยคที่ถูกต้อง
-การใช้คำในภาษาไทย
-แนวทางสำหรับนักศึกษาในการศึกษาไวยากรณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ์ 000 เช่น อุทก์ นภา วาลุกา นิพฺพานํ เวลา สปปิ เป็นต้น ไม่มีใช้เป็นรูป พหุ. ว่า อุทกานิ นภาโย นิพพานาน เป็นต้น (๒) ถ้าเพ่งกำเนิดเดิม ไม่มุ่งถึงประเภท หรือจำนวนที่แยกออก ให้ใช้เป็น เอก. ได้ ถ้ามุ่งถึงจำนวนหรือต้องการแยกประเภท จึงใช้เป็นพหุ เช่น : อาหาโร เพ่งอาหารไม่จำกัดชนิด อาหารา เพ่งอาหารชนิดต่างๆ : มหาชโน เพ่งคนมากพวกเดียวกัน มหาชนา เพ่งคนมากหลายพวก หลายหมู่ : ปริสา เพ่งบริษัทที่เป็นพวกเดียวกัน ปริสาโย เพ่งบริษัทต่างพวกกัน : สีลำ เพ่งคุณความดีอย่างหนึ่ง สีลานิ เพ่งจํานวนศีลเป็นข้อๆ เพ่งสิ่งของเป็นทานไม่จำกัดชนิดอย่างหนึ่ง ทานานิ เพ่งสิ่งของเป็นทานต่างชนิด : ทานํ : ปาน เพ่งเครื่องดื่มไม่จำกัดชนิด เพ่งเครื่องดื่มต่างชนิด ปานานิ ฯลฯ (๓) บทวิเสสนะก็ดี บทอัพภันตรกิริยาก็ดี บทกิริยาคุมพากย์ ก็ดี ต้องมีวจนะเสมอกับบทประธานหรือบทที่ตนขยาย บางครั้งประโยค ยาว นักศึกษาเรียงศัพท์เพลินไป เลยใส่วิเสสนะผิดวจนะบ้าง ใส่กิริยา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More