การใช้ประโยคถาม - ตอบในพระพุทธศาสนา คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 163
หน้าที่ 163 / 374

สรุปเนื้อหา

บทนี้พูดถึงการสร้างประโยคถาม - ตอบในบริบทของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเรื่องสุขทุกข์ รวมทั้งการนำเสนอวิธีการจัดรูปแบบประโยค การตัดศัพท์ซ้ำในประโยคและวิธีการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง สามารถนำไปใช้ในการศึกษาและการปฏิบัติในพระพุทธศาสนาได้

หัวข้อประเด็น

-การใช้ประโยคถาม - ตอบ
-หัวข้อสุขทุกข์
-การตัดศัพท์ซ้ำ
-การจัดรูปประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

(ตอบ) : อิมาย นามาติ วุฒิเต....... สำนวนนิยม ๑๔๗ (ถาม) : ก็ กเถถ ภิกฺขเวติ ปุจฉาวา........ (ตอบ) : อิทนนาม ภันเต วุฒิเต......... (๕) ประโยคถาม - ตอบเรื่องสุขทุกข์ : เตปิ โข ภิกขู สาวๆ คนตวา ฯเปฯ “กจฺจิ ภิกฺขเว ขมนีย์, กาจิ ยาปนีย์, น จ ปิณฑิเกน กิลมิตถาติ วุตตา “ขมนีย์ ภนฺเต ยาปนีย์ ภนฺเต..... (๒/๑๒๒) : มม ปุตฺตสฺส มหากสฺสปสฺส ขมนียนฺติ ฯ ขมนีย์ ภนฺเตติ ฯ ตัวอนฏิหิตกัตตาในประโยคถาม - ตอบ เรื่องสุขทุกข์นี้ จะ ต้องประกอบเป็นรูปฉัฏฐีวิภัตติเสมอ (๖) ประโยคเข้าเฝ้า : เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺกมิตวา....... (๑/๕๓) ประโยคซ้ำความ ประโยคซ้ำกัน คือ ประโยคที่มีข้อความซ้ำกับประโยคต้น ประโยคเช่นนี้ ติดศัพท์ที่ซ้ำกันออกให้เหลือไว้เฉพาะศัพท์ที่ไม่ซ้ำกันเท่านั้น และที่เหลือนั้นจะต้องมีอย่างน้อย ๒ ศัพท์ ถ้าซ้ำทั้งหมด ไม่ซ้ำเพียง ศัพท์เดียว นิยมใส่ที่ซ้ำได้ ๑ ศัพท์ รวมเป็น ๒ ศัพท์ ประโยคซ้ำกันที่ ตัดออกนี้ เวลาแปลท่านอาจแปลเต็มรูปประโยคเหมือนประโยคต้นก็ได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More