คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 82
หน้าที่ 82 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้นำเสนอการแปลและการเรียงประโยคในรูปแบบที่ถูกต้อง โดยเน้นถึงความสำคัญของการเข้าใจหลักการในการเรียงประโยคชั้นสูงและการนับศัพท์ในประโยค รวมถึงตัวอย่างการใช้ที่ถูกและผิดเพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจถึงการแปลที่แม่นยำยิ่งขึ้น ซึ่งบทเรียนนี้สำคัญต่อผู้ที่สนใจด้านการแปลภาษาไทยและมคธ เพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและความเข้าใจที่ถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษา
-การเรียงประโยค
-การนับศัพท์
-ตัวอย่างการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๖๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ เรียงไทย : กร สาวตถิย์ เอโก อุปาสโก สทฺโธ โหติ ฯ (ผิด) เรียงนิบาตขึ้นต้นอย่างนี้สื่อถึงความเป็นผู้ไม่มีครู ไม่รู้หลักการ เรียง ในประโยคชั้นสูงๆ อาจถูกปรับเป็นตกได้ จึงต้องสังเกตและใช้ ให้เป็น อนึ่ง เรื่องการนับศัพท์ในประโยคก่อนจะวางนิบาตนั้นควรนับให้ ถูก คือ บทอาลปนะทั้งหมดไม่นับเป็นหนึ่ง เพราะฉะนั้น จะเรียงนิบาต ที่ต้องเรียงไว้ในตำแหน่งที่ ๒ ไว้หลังอาลปนะ โดยนับบทอาลปนะเป็น หนึ่ง อย่างนี้ไม่ถูกต้อง เช่น ความไทย : ก็ท่านขอรับ กระผมไม่รู้ได้ทำไปแล้ว ถูก : อห์ ปน ภนฺเต อชานิตวา อก ฯ ผิด : ภนฺเต ปน อห์ อชานิตวา อก ฯ ความไทย : พ่อเอ๋ย ถึงมือเท้าของตัวของคนแก่ ก็ยังไม่เชื่อฟัง ถูก : ตาต มหลุลลูกสส หิ อตฺตโน หตุถปาทาปิ อนุสฺสวา โหนฺติ ฯ ผิด : ตาต หิ มหลุลูกสส อตฺตโน หตุถปาทาปิ อนสฺสวา โหนฺติ ฯ แม้บทอาลปนะอื่น ก็พึงเทียงเคียงอย่างนี้ ศัพท์นามหรือศัพท์กิริยาทั้งหมดนับเป็นหนึ่งทั้งสิ้น รวมทั้งนิบาต ต่างๆ เช่น ก น ยถา เป็นต้น ก็นับเป็นหนึ่งได้ เช่น : กี ปเนต์ อาวุโส ปฏิรูป์ ฯ (๑/๔) : ยถา หิ ปสนฺนํ อุทก์ อาคนฺตุเกหิ นีลาที่หิ อุปกฺกิลิฏฐ์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More