คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 226
หน้าที่ 226 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้เสนอแนวทางการแปลระหว่างภาษาไทยและมคธ โดยมีการนำเสนอคำศัพท์และประโยคที่จำเป็นในการสื่อสาร เช่น การห้ามคนหรือสัตว์ การส่งคนและสิ่งของ รวมถึงคำศัพท์ทางการนอนและการหลับที่มีความแตกต่างกัน รวมไปถึงอาการและความรู้สึกต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนอนและการพักผ่อนสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-คำศัพท์ภาษาไทย
-การสื่อสาร
-การศึกษาภาษา
-การนอนและการหลับ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๑๐ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ๓๑. นิวาเรติ นิเธเสติ ปฏิกฺขิปิ ๓๒. อุสสาเปติ อาโรเป ๓๓. อุยโยเชสิ เปเสสิ ปริณิ อนุคจฺฉติ ๓๔. อาจิกฺขิ อาโรเจริ ๓๕. สยติ นิปชฺชติ ๓๖. นิทฺทายิ สุปติ ๓๗. คีว คล ขนฺธ ๓๘. อาทีนโว ห้ามคน ห้ามสัตว์ แบบใช้มือโบกห้าม ห้ามใจตัวเอง ห้ามความชั่ว ห้ามหรือคัดค้านผู้อื่น ยกของให้สูงขึ้น ยกธง ยกคน ( อุ้ม ) ส่งไปอย่างมีเกียรติ ส่งคนมีเกียรติ ตามส่ง ส่งไปอย่างสามัญธรรมดา ส่งของหรือส่งข่าว ตามไปส่ง บอกเรื่องเล็กๆ บอกเฉพาะคน บอกเรื่องสำคัญ บอกเรื่องราว บอกแก่คน หมู่มาก นอนแบบผู้ใหญ่ นอนในบ้าน นอนกลางคืน นอนในที่ไม่ใช่ที่นอนนอน แบบไม่สบาย กลิ้งไปมานอนแบบไม่ค่อยหลับ นอนแบบ ของสัตว์ สัตว์นอน หลับกลางวัน หลับนอกเวลานอน หลับกลางคืน หลับสนิท หลับฝัน ล่าคอทั้งหมด รูคอหอยที่อาหารเข้าไป ก้านคอ โทษความเสียหายในตัว โทษเศร้าหมอง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More