วิภัตติหมวดอัชชัตตานี และภวิสสันติ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 127
หน้าที่ 127 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงวิภัตติหมวดอัชชัตตานีที่ใช้ในกรณีเรื่องที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งมีตัวอย่างเพื่อแสดงให้เห็นการใช้ในบริบทต่างๆ เช่น สำนวนไทยที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดแล้ว นอกจากนี้ ยังมีการอธิบายถึงวิภัตติหมวดภวิสสันติที่ใช้สำหรับการคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคตตามความคิดหรือการคาดหวัง โดยมีการยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจมากขึ้น การอ่านและเข้าใจวิภัตตินี้จะเกิดประโยชน์ในการเรียนรู้ภาษาไทยให้ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการสื่อสารเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเวลา

หัวข้อประเด็น

-วิภัตติหมวดอัชชัตตานี
-วิภัตติหมวดภวิสสันติ
-การใช้ไวยากรณ์ในภาษาไทย
-การสื่อสารเกี่ยวกับเวลา
-เหตุการณ์ในอดีตและอนาคต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ์ ๑๑๑ วิภัตติหมวดอัชชัตตานี ใช้ในกรณีเรื่องนั้นผ่านพ้นไปแล้ว เป็นอดีตไปแล้ว ส่วนมากมี สำนวนไทยกำกับว่า “แล้ว, ได้...แล้ว” เช่น : สาวตถิย์ กร มหาสุวณฺโณ นาม กุฏมพิโก อโหสิ ฯเปฯ (๑/๓) (แสดงว่า กุฎมพีก็ชื่อนั้นได้มีไปแล้ว ปัจจุบันไม่มีตัวตนแล้ว) : เถรสส นิทท์ อโนกุกมนฺตสฺส ปฐมมาเส อติกกันเต อกขิโรโค อุปปช ๆ (๑/๔) (แสดงว่า โรคนั้นได้เกิดขึ้นเสร็จแล้ว เรื่องต่างๆ จึงเป็นไปตามมา) ส่วนมากวิภัตติหมวดอัชชัตตนี จะใช้สำหรับเดินเรื่องในท้องนิทาน หรือข้อความต่างๆ ซึ่งเป็นเรื่องอดีต โดยมีหน้าที่คุมพากย์ไปเป็นตอนๆ เช่น : อสฺส ภริยาย กุฉิย์ คพโภ ปติฏฐาสิ ฯ โส ตสฺสา คพฺภปริหาร์ อทาสี ฯ สา ทสมาสจฺจเยน ปุตต์ วิชายิ ฯ เสฏฐี อตฺตนา ฯเปฯ ตสฺส ปาโลติ นาม อกาส ฯ (๑/๓) วิภัตติหมวดภวิสสันติ ใช้ในกรณีที่เรื่องนั้นๆ ยังไม่เกิดขึ้นจริงๆ ในขณะนั้น เป็นเพียง ความนึกคิด หรือคาดว่าจักเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งจะเกิดหรือไม่เกิดตาม นั้นก็ได้ เช่น : คจฺฉนฺตา จ ทหรสามเณรา โน หตฺเถ โอโลเกสฺสนฺตีติ ตุจฉหตุถา น คตปุพฺพา ฯ (๑/๔)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More