คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 200
หน้าที่ 200 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลนี้ให้แนวทางการแปลจากภาษาไทยเป็นมคธ โดยใช้ตัวอย่างที่ชัดเจน เชื่อมโยงกับการใช้ในบริบททางศาสนาและการพูดจาในชีวิตประจำวัน มีการแยกประเภทและตีความศัพท์ต่าง ๆ ในคำพูดที่สำคัญ โดยเฉพาะความหมายของถ้อยคำโต้ตอบในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น การสนทนาเกี่ยวกับการทำกิจกรรมของภิกษุและ ทัศนคติต่อเรื่องราวในพุทธศาสนา เช่น แนวคิดเกี่ยวกับการมีชีวิตอยู่และการปฏิสัมพันธ์กับสังคม การตีความในประโยคบอกเล่าที่แฝงด้วยการปฏิเสธเพื่อให้เข้าใจถึงความหมายที่แฝงอยู่ อันเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาและผู้สนใจในพระพุทธศาสนา เนื้อหาสอนให้เห็นถึงความสำคัญของภาษาในการสื่อสารอย่างถูกต้องและเหมาะสม ในการเผยแผ่ความรู้ด้านพระธรรมให้กับผู้ที่สนใจ

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-แนวทางการพูดจาในศาสนา
-การเข้าใจเนื้อหาในพระพุทธศาสนา
-การใช้ศัพท์ในชีวิตประจำวัน
-การสื่อสารในภิกษุบท

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๔๘๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ความไทย : ไม่มีอะไรหรอกครับ เป็น : น กิญจิ ภนฺเต ไม่ใช่ น ก็ ภนฺเต ความไทย เป็น : ในสามอย่างนั้น ที่ชื่อว่านิมิต ได้แก่ การที่เมื่อ ภิกษุ ทำกิจมีปรับพื้นที่เพื่อสร้างเสนาสนะอยู่ เมื่อ พวกคฤหัสถ์ถามว่า ท่านทำอะไร ขอรับ ใครใช้ ให้ท่านทำ ให้คำตอบว่า ไม่มีใครให้อาตมาทำ : ตตฺถ นิมิตต์ นาม เสนาสนตฺถิ ภูมิปริกมมาที่นิ กโรนฺตสฺส ที ภนฺเต กโรติ โก การาเปตีติ คดีห์ วุฒิเต น โกจิติ ปฏิวจน์ (วิสุทธิ์ ๑/๕๐) ไม่ใช่ ฯเปฯ น โกติ ปฏิวจน์ (5) ในประโยคบอกเล่าธรรมดาที่มีเนื้อความปฏิเสธ และไม่ต้อง การคำตอบ มีสำนวนไทยว่า “จะมีอะไร.... จะมีประโยชน์อะไร... จะ ต้องการอะไร...” แล้วต่อด้วยสำนวนไทยว่า “ด้วย” หรือ “กับ นิยมใช้ ที่ ศัพท์วางไว้ต้นประโยค ต่อด้วยนิบาต (ถ้ามี) ต่อด้วยนาม เจ้าของซึ่งต้องเป็นจตุตถีวิภัตติ แล้วจึงตามด้วยบทที่ถูกปฏิเสธ ซึ่ง ประกอบเป็นตติยาวิภัตติเสมอ เช่น ความไทย : เราจะมีประโยชน์อะไร ด้วยการเป็นอยู่ (เราจะอยู่ไปทำไม) เป็น : ก็ เม ชีวิเตน (๖/๑๒๔) ความไทย : สําหรับบุคคลผู้มีปัญญาทรามเช่นท่าน จะมี ประโยชน์อะไรด้วยชฎา จะมีประโยชน์อะไรด้วย หนังเสือเหลืองอันมีเล็บ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More