การวิเคราะห์ประโยคในภาษาไทย คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 283
หน้าที่ 283 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ให้ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ประโยคในภาษาไทย โดยศึกษาการใช้สำนวนและรูปแบบในการสร้างและอธิบายความหมายที่ต้องการในแต่ละประโยค เช่น การใช้คำว่า "เพราะที่" เพื่อแยกย่อยความหมายในประโยค การจัดเรียงคำที่ถูกต้อง มีการสอนวิธีการแบ่งวรรคและแยกประโยคที่มีความซับซ้อนให้เด่นชัด หนึ่งในเทคนิคที่สำคัญคือการใช้ศัพท์และธาตุที่สัมพันธ์กับรูปสำเร็จ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหาดีขึ้น ผู้เขียนยังนำเสนอวิธีการในการเรียนรู้และปรับปรุงทักษะการเขียนในภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาเพิ่มเติมสามารถติดตามได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ประโยค
-การใช้สำนวนในภาษาไทย
-วิธีการเขียนและอธิบายความหมาย
-รูปแบบการจัดเรียงคำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิย โยคิโน จิตฺตสฺส การเรียงประโยคอธิบายความ ๒๖๗ ทว█ตึสโกฏฐาสเก กาเย อารมฺมณวเสน อนุสญจรณ์ ฯ (วิสุทธิ์ ๒/๒๓) ปลลเล อุทกสฺส อภาโว วัย หิ อิเมล์ วสนฏฐานสุส อภาโว, มจฉาน ขีณภาโว วิย อิเมล์ โภคานํ อภาโว (๕/๑๑๙-๑๒๐) (๔) ในกรณีที่การแก้ความเป็นรูปวิเคราะห์โดยมีสำนวนไทยว่า “เพราะว่า เพราะอรรถว่า เพราะวิเคราะห์ว่า” แล้วพิมพ์ข้อความ ต่อไป โดยเว้นวรรคไว้ เช่น “ชื่อว่ามงคล เพราะอรรถว่า เป็นเหตุถึง อธิบายว่า เป็นเครื่องบรรลุถึงความสําเร็จและความเจริญ แห่งสัตว์ ทั้งหลาย” การเว้นวรรคระหว่าง เพราะอรรถว่า กับ เป็นเหตุถึง นั้น เป็นการแสดงให้รู้ว่าเป็นรูปวิเคราะห์ อีกกรณีหนึ่ง ที่บ่งว่าความตอนนั้นเป็นรูปวิเคราะห์หรือใกล้เคียง รูปวิเคราะห์คือคำที่มีสํานวน ว่า “เพราะเหตุนั้น ............... ในกรณีแรกเป็นการแปลเข้า คือ แปลจากรูปสำเร็จเข้าไปหารูป วิเคราะห์ ในกรณีหลังเป็นการแปลออก คือ แปลรูปวิเคราะห์ออก ไป หารูปสําเร็จซึ่งอยู่ข้างนอก ทั้งนี้ท่านนับ อิติ ศัพท์เป็นประตูคั่นกลาง เมื่อสังเกตแล้วรู้ชัดว่าข้อความตอนนั้นเป็นรูปวิเคราะห์แน่นอน แล้ว จะต้องคําเนินการขั้นต่อไป คือ ๔.๑ รูปวิเคราะห์ที่นำมาใช้จะต้องประกอบศัพท์และธาตุให้ตรง กับรูปสำเร็จ คือเป็นศัพท์ หรือเป็นธาตุตัวเดียวกัน ถ้าต่างกัน นิยม ให้เป็นค่าไขหรือคําอธิบายไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More