กฎเกณฑ์การเรียงประโยค คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 45
หน้าที่ 45 / 374

สรุปเนื้อหา

การเรียงประโยคในภาษาไทยมีหลายกฎเช่น บิดามารดาเกี่ยวกับการอยู่ในเรือน และการใช้บทตติยาวิภัตติอย่างถูกต้อง เช่นการแสดงประโยชน์ซึ่งมีน้ำหนักในประโยค และการเรียงประโยคที่ถูกต้องเพื่อให้สื่อสารชัดเจน โดยมีตัวอย่างอธิบายชัดเจนและน่าสนใจเช่น เรื่องราวเกี่ยวกับความสำคัญของการดูแลและไม่ส่งผลต่อการถูกเข้าใจผิดในบทประโยคต่าง ๆ.

หัวข้อประเด็น

-กฎการเรียงประโยค
-บทตติยาวิภัตติ
-ตัวอย่างประโยคในภาษาไทย
-การเขียนและการสื่อสารในภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กฎเกณฑ์การเรียงประโยค ๒๙ เช่น - บิดามารดาผูกบุตรเหล่านั้นผู้เจริญวัยแล้วด้วยเครื่องผูก คือเรือน ๆ : เต วยปปตโต ฆรพนธเนน พนธิ์สุ ฯ (๑/๔) : ท้าวเธอทรงครองราชย์โดยธรรม : โส ธมฺเมน รัชช์ กาเรส ฯ ๒. บทตติยาวิภัตติที่เข้ากับ กี และ อล์ นิยมเรียงไว้หลัง ก็ และ อล์ และไม่ต้องมีบทประธาน หรือกิริยากำกับประโยคอีก เช่น เช่น : - ประโยชน์อะไรของเราด้วยการอยู่ครองเรือน : ก็ เม ฆราวาเสน ๆ (๑/๖) : อย่าเลย ด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน : อลันเต อิธ วาเสน ฯ ๓. ถ้ามาคู่กับบททุติยาวิภัตติ นิยมเรียงไว้หน้าบททุติยาวิภัตติ : นางสิ้นชีวิตไปด้วยความป่วยไข้นั้นนั่นเอง บังเกิดเป็น แม่ไก่ในบ้านนั้นทีเดียว : สา เตเนราพาเธน กาล กตฺวา ตตฺเถว กุกกุฏิ หุตวา นิพฺพตฺติ ฯ (๑/๔๔) หรือจะเรียงไว้หลังบททุติยาวิภัตติบ้างก็ได้ เช่น : คุณทั้งหลาย พวกคุณจะให้ไตรมาสนี้ผ่านไปด้วยอิริยาบถ เท่าไร ?
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More