ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑O๘ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
จะแต่งลอยๆแบบไม่มีหลักไม่ได้ เมื่อแต่งเป็นมคธแล้วต้องลองแปลดูว่า
พอจะเข้าใจได้ไหม กิริยาเป็นธาตุเรียกหากรรมหรือไม่ เป็นต้น เช่น
สำนวนว่า : เขาทำงาน
=
=
โส กมฺมนฺตสฺส กโรติ ฯ (ผิด)
โส กมุมนต์ กโรติ ฯ (ถูก)
สำนวนว่า : เขากินข้าว
=
=
โส ภตฺตสฺส ภุญชติ ๆ (ผิด)
- โส ภัตต์ ภุญชติ ฯ (ถูก)
สำนวนว่า : สามีให้เครื่องประดับภริยา
=
สามิโก อาภรณ์ ภริย์ เทติ ฯ (ผิด)
- สามิโก อาภรณ์ ภริยาย เทติ ฯ (ถูก)
สำนวนว่า : สามเณรนั่งเตียงอยู่
- สามเณโร มญจ์ นิสีทติ ฯ
(ผิด)
- สามเณโร มญฺเจ นิสีทติ ฯ (ถูก)
(๒) ในสำนวนไทย แม้จะแปลสำนวนผิดวิภัตติ คือแปลเป็น
วิภัตติหนึ่ง แต่เวลาแต่งกลับแต่งเป็นอีกวิภัตติหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า “แปล
หัก” ก็ต้องคงรูปวิภัตติเดิมไว้ตามความนิยมของภาษา เช่น
=
: ภาชนะ เต็มด้วยน้ำ
=
- อิท ภาชน์ อุทกสฺส ปูรติ ฯ (ถูก)
อิท ภาชน์ อุทเกน ปูรติ ฯ (ผิด)
แม้ในสํานวนไทยซึ่งมิได้แปลหัก แต่นิยมใช้กับวิภัตติใดๆ ก็ให้