ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑๗ ๘ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
(๑) หลักมีว่า ศัพท์ อี อู การันต์ ใน 1, เมื่อเข้าสมาส แล้ว
ต้องรัสสะ เช่น เสฏฐิปุตโต วิญญภาโว โยคิวตต์ เป็นต้น แต่นำมา
ใช้โดยไม่ได้รัสสะ เป็นว่า เสฏฐีปุตโต ดังนี้ เป็นต้น ชื่อว่าผิดหลัก
(๒) ศัพท์ที่จะเข้าสมาสกัน แบบทวันทวสมาส นั้น จะต้องเป็น
ศัพท์พวกเดียวกัน หรือเป็นหมวดเดียวกัน เช่น หมวดบริขาร, หมวด
อวัยวะ, หมวดสัตว์บก, หมวดสิ่งมีชีวิต เป็นต้น
ไม่นิยมนำศัพท์ต่างหมวดกันมาสมาสกัน เพราะทำให้แปลยาก
เวลาหาอัญญบท ถ้าต่างหมวดกันนิยมแยกเป็นศัพท์ๆ แล้วใช้ จ ศัพท์
ควบเสีย และไม่นิยมสมาสศัพท์ต่างๆ จนยาวเหยียดเป็นรถไฟ แม้จะ
อยู่ในหมวดเดียวกันก็ตาม เช่น
: สกลตณฑเล เปตวา กินนตณฑเล จ อุทธนกปลุลานิ
จ อาทาย โถก มีรส ปิมธุผาณิตญฺจ คเหตุวา ฯเปฯ
(๓/๓๑)
ไม่ใช่.... ฯเปฯ กินฺนตณฑลอุทธนกปลลานิ จ อาทาย ฯเปฯ
เพราะ ข้าวสารกับกระเบื้องและเตา เป็นศัพท์คนละหมวดกัน
ส่วนท่อนว่า ขีรสปปิมธุผาณิต สมาสกันได้ เพราะเป็นประเภท
เภสัชเหมือนกัน
: ตสฺส หตุถปาทา จ อกฺขินิ จ กณฺณา จ นาสา จ มุขญจ
น ยถาฏฐาเน อเหตุ ฯ (๓/๑๒๑)
ไม่ใช่... หตฺถปาทอกฺขิกณฺณนาสามุข เพราะแม้เป็นศัพท์หมวด