คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 358
หน้าที่ 358 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชานี้เกี่ยวกับการแปลภาษาไทยเป็นมคธ ระบุถึงการใช้พหุวจนะแทนเอกวจนะอย่างถูกต้องตลอดเรื่อง และการใช้ปัจจัยต่างๆ ในคำศัพท์ เช่น ต และ อนุต นอกจากนี้ยังกล่าวถึงการใช้คำว่า 'คือ' ในสำนวนไทย ที่มาจากศัพท์ว่า อิติ โดยมีวิธีในการเรียงคำและแปลที่เหมาะสม โดยมีตัวอย่างความหมายและการใช้ในประโยคต่างๆ.

หัวข้อประเด็น

-การใช้พหุวจนะ
-การใช้เอกวจนะ
-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-การใช้ปัจจัยในคำศัพท์
-การเรียงคำในสำนวนไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๔๒ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ในกรณีแสดงความ ๔. เมื่อใช้พหุวจนะ แทน เอกวจนะ เคารพ ต้องใช้ให้ตลอดเรื่อง และใช้ในทุกวิภัตติทั้งเลขนอกเลขใน มิใช่ ใช้บ้าง ไม่ใช้บ้างตามใจชอบ ๑๐. ต ปัจจัย นิยมใช้กับกัมมวาจก และเหตุกัมมวาจกเท่านั้น จะใช้ในรูปกัตตุวาจก เช่น โส กมุม กโต ไม่ได้ อนุต ปัจจัย เป็นได้ ๓ วาจก จะใช้เป็นกัมมวาจก หรือเหตุกัมม วาจก เช่น เทริยนโต กรียนโต การาปิยนโต ดังนี้ไม่ได้ และ เมื่อใช้ เป็นกิริยาของศัพท์อิตถีลิงค์ ต้องลง อี เครื่องหมาย อิต. เป็น กโรนฺตี เทเสนดี ไม่ใช่ลง อา เป็น กโรนฺตา เทเสนตา มาน ปัจจัย เป็นได้ทั้ง ๕ วาจก เมื่อเป็นอิตถีลิงค์ ต้องลง อา เป็นมานา เช่น กุรุมานา วุจจมานา ๑๑. คำว่า “คือ” ในสำนวนไทย มาจากศัพท์ว่า อิติ วเสน ยทินํ เสยฺยถีท และ กฤ อิติ นิยมเรียงส่วนย่อยไว้ข้างหน้าก็มี ข้างหลังก็มี และ ควบด้วย จ ศัพท์ หลัง อิติ (ดูวิธีเรียง อิติ ศัพท์ ประกอบ) • วเสน ในชั้นประโยคต้นๆ นิยมแปลศัพท์นี้ว่า ด้วยสามารถ และในชั้นสูงๆ นิยมแปลว่า “คือ” วิธีใช้ให้นำส่วนย่อย ของศัพท์หลังมาสมาสกับศัพท์ว่า วเสน ทั้งหมด เช่น : พุทธธัมมสังฆวเสน รตนตฺตย์ โลเก อุปปันน์ ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More