คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 212
หน้าที่ 212 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้นำเสนอตัวอย่างการใช้ศัพท์ในภาษามคธและการแปลจากภาษาไทย โดยเน้นการใช้คำคู่ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจวิธีการสร้างประโยคที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังให้ตัวอย่างเช่น การใช้กิริยาคุมพากย์ในประโยคต่างๆ เพื่อชี้นำการค้นคว้าและนำไปใช้ในอนาคต

หัวข้อประเด็น

-การใช้ศัพท์ในภาษาไทย
-การแปลภาษามคธ
-ศัพท์คู่ในประโยค
-กิริยาคุมพากย์
-การศึกษาภาษามคธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๙๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ไม่ทำไม่ได้ ไม่ทำแล้วจะมีโทษเสียหาย ซึ่งตรงกับสำนวนไทยว่า “ต้อง” นั่นเอง วาจก เช่น : ส่วนมากใช้เน้นกิริยาคุมพากย์ ที่เป็นกัมมวาจก และภาว กี ปเนต์ อาวุโส ปฏิรูป์ นน อปปมตเตหิ ภวิตพพ์ ฯ (๑/๘) : ภนฺเต สุสาเน วสนฺเตน นาม อยุเยน มจฺฉม์สปิฏฐิติลคุฬาที่นิ วชฺเชตพพาน, ทิวา น นิททายิตพุฒิ ๆ ฯเปฯ (๑/๖๓) แสดงการใช้ศัพท์ในประโยคมาให้ดูพอเป็นแนวทาง เพื่อการ ค้นคว้าเองต่อไป ด้วยประการฉะนี้ การใช้ศัพท์เป็นคู่กัน ศัพท์ในภาษามคธบางศัพท์ บางความหมาย มีศัพท์ที่เป็นคู่กัน เช่นเดียวกับภาษาไทย แต่เวลาใช้ศัพท์เรียงเข้าประโยค จะต้องเลือก ศัพท์ที่มีลักษณะเป็นคู่ๆ คือ คู่ใคร คู่มั่น ศัพท์ที่เป็นคู่เช่นนี้ มักมีรูปร่าง คล้ายๆ กัน ประกอบด้วยปัจจัย เป็นต้น อย่างเดียวกัน เช่น ขชช คู่กับ โภชช ขาทนีย คู่กับ โภชนีย เป็นต้น เวลาใช้นิยมใช้ไม่ให้สลับคู่ กัน ตัวอย่างว่า : อุบาสกคนหนึ่ง นำาของเคี้ยว ของฉัน ไปวัด แล้ว ได้ ถวายแก่ภิกษุรูปหนึ่ง : อุปาสโก ขชชญฺจ โภชนียญจ อาทาย วิหาร คนตวา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More