ข้อความต้นฉบับในหน้า
๒๒๐ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
ปัจจัยใหม่ เพื่อให้เป็นกิริยาในประโยคกัมม.
อาขยาต
เช่น ถ้าเป็นกิริยา
ก็ต้องลง ย ปัจจัย และลง อิ อาคมหน้า ย ถ้าเป็น
กิริยากิตก์ ก็เป็น ต ปัจจัยเป็นต้น ตัวอย่างเช่น
ความไทย : ศิษย์ศึกษาศิลปะอยู่
กัตตุ
: สิสโส สิปป์ สิกฺขติ ฯ
กัมม.
: สิสเสน สิปป์ สิกขิยเต ฯ
กัตตุ
กัมม.
อุปาสโก สการ์ เถรสฺส เทติ ฯ
ความไทย : อุบาสกถวายสักการะแด่พระเถระอยู่
:
: อุปาสเกน สกฺกาโร เถรสฺส ทียเต
(หรือ ทิยุยเต)
ตามตัวอย่างนี้ แสดงที่มีบทประกอบครบ คือ ประธาน กรรม
กิริยา แต่ในความเป็นจริงอาจมีบทประกอบมากกว่านี้ หรือน้อยกว่านี้
ก็ได้ ก็แล้วแต่ความในที่นั้นๆ และตัวอย่างนี้ก็แสดงเฉพาะปัจจุบันกาล
หากเป็นอดีตกาล เมื่อแปลงเป็นกัมมวาจกแล้วอาจติดขัดด้วยเรื่องศัพท์
คือ ศัพท์ที่เป็นกัมมวาจกนั้น ในรูปกิริยาอาขยาตอดีตกาล ไม่นิยมใช้
หรือไม่มีใช้ ก็ให้แปลงเป็นกิริยากิตก์อดีตกาลก็ได้ เช่น
ความไทย
กัตตุ
กัมม.
ความไทย
:
กุฎมพีนั้น ได้ให้เครื่องบริหารครรภ์
แก่นางแล้ว
โส
: ตาสา คพุกปริหาร อทาสี ฯ (๑/๓)
เตน ตสฺสา คพุภปริหาโร ทินโน ฯ
: ผู้บอดเขลาเธอทําอย่างนี้ทําไม นางประกอบ